กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา

พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558: บทวิเคราะห์ผลการบังคับใช้และข้อเสนอแนะ

สาระสำคัญของพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558
 
กฎหมายการชุมนุมสาธารณะของต่างประเทศ

  1. 1. ประเทศฝรั่งเศส
  2. 2. ประเทศเกาหลีใต้

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558
 
บทสรุป ข้อสังเกตบางกรณีศึกษาและข้อเสนอแนะในเชิงกฎหมาย

  1. 1. การควบคุมดูแลการชุมนุม
  2. 2. ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่
  3. 3. นิยามของการชุมนุมสาธารณะ
  4. 4. พื้นที่การชุมนุมสาธารณะ
  5. 5. การแจ้งชุมนุมสาธารณะ
  6. 6. การริบทรัพย์สิน

รายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนากระบวนการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

บทที่ 1 บทนำ
-1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
-1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
-1.3 ขอบเขตของการศึกษา
-1.4 วิธีการศึกษา
-1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
-1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
 
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
-2.1 แนวคิด ทฤษฎี และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
--2.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ (Public Hearing)
--2.1.2 แนวคิดการปรึกษาหารือสาธารณะ (Public Consultation)
--2.1.3 แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน
--2.1.4 หลักการรับฟังความคิดเห็นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

รายงานวิจัย เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น

บทที่ 1 บทนำ
 -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
 -1.2 คำถามการวิจัย
 -1.3 วัตถุประสงค์การวิจัย
-1.4 ขอบเขตการวิจัย
-1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
-1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

อินโฟกราฟิก เรื่อง ความเป็นมาของ กอ.รมน.

กอ.รมน.
เมื่อเดือนกรกฎาคม 2566 ฉัตรชัย ศรีเมืองกาญจนา จากกลุ่มงานบริการวิชาการ 1 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้เรียบเรียงบทความ เรื่อง "อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของ กอ.รมน."  ได้กล่าวถึง

  • ความเป็นมาก่อนจะเป็นกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.)
  • กอ.รมน. ในยุคปัจจุบัน
  • การจัดโครงสร้างและการแบ่งส่วนงานของ กอ.รมน.
  • แนวคิดการปฏิรูปกองทัพกับอนาคตของ กอ.รมน.
  • บทสรุปและข้อเสนอแนะของผู้ศึกษา

อ่านเพิ่มเติม

บทสรุปเชิงนโยบาย POLICY BRIEF ฉบับที่ 4 ปี 2565 เรื่อง การสร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บรายได้เข้ารัฐ

 

ประเด็นปัญหาด้านภาษีถือเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนประเทศให้บรรลุตามทิศทางหรือกรอบของการพัฒนาประเทศ เพราะภาษีถือเป็นแหล่งรายได้หลักของรัฐที่จะช่วยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การจัดสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น จำเป็นต้องจัดทำงบประมาณแบบขาดดุลอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ดังนั้น จึงได้มีข้อเสนอเพื่อหาแนวทางการสร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บรายได้เข้ารัฐเพื่อให้แผนงบประมาณประเทศกลับมาสมดุลอีกครั้ง สามารถแบ่งเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและข้อเสนอเชิงกฎหมาย ดังนี้

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

บทสรุปเชิงนโยบาย POLICY BRIEF ฉบับที่ 2 ปี 2565 เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบประกันสังคม

 

แนวทางการพัฒนาระบบประกันสังคม ระบบการประกันสังคมของไทยเป็นไปตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยได้มีการปรับปรุงแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาในประเด็นสำคัญ คือ 

Subscribe to กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา