E-Abstract for Article no. 8 : August 2014

Author:
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ. กลุ่มงานห้องสมุด
Year:
2014
Month:
08
No. of Pages:
33

 

สาระสังเขปบทความวารสารในเล่มนี้ ประกอบด้วย

การเงินธนาคาร

  • กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์. (มิถุนายน 2557). ข้อเสนอการปฏิรูปกฎหมายและภาษี : ระบบ Fast ในช่วง คสช. การเงินธนาคาร, 386,265-267.
  • คสช.ปลดล็อกเศรษฐกิจไทยเดินหน้า. (มิถุนายน 2557). การเงินธนาคาร, 386, 59-61.
  • แบงก์ 500 แบบใหม่ : เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 1 เน้นปลอมแปลงยาก-ง่ายต่อการสังเกต. (มิถุนายน 2557). การเงินธนาคาร, 386, 154-155.
  • ระบบการชำระเงิน : เส้นเลือดหล่อเลี้ยง สร้างเสถียรภาพการเงินไทย. (มิถุนายน 2557). การเงินธนาคาร, 386, 255-259.

ดอกเบี้ย

  • ชิน โสภณพนิช. (พฤษภาคม 2557). ธรณีพิโรธโกรธาสัญญาณเปลี่ยนแปลง. ดอกเบี้ย, 33 (395), 51-54.
  • แผ่นดินไหวเขย่าธุรกิจคอนโดมิเนียม ปรับแบบอาคารรับแรงสั่นสะเทือน. (พฤษภาคม 2557). ดอกเบี้ย, 33 (395), 100-104.
  • แสงไทย เค้าภูไท. (พฤษภาคม 2557). กลุ่มแอนตี้ประชานิยมครองรัฐสภาใหม่ยุโรป. ดอกเบี้ย, 33 (395), 48-49.

เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่

  • การปลูกชา (ตอนที่ 1). (พฤษภาคม 2557). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่,14 (165), 92-95.
  • การปลูกชา (ตอนจบ). (มิถุนายน 2557). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (166), 78-81.
  • เกษม สร้อยทอง. (พฤษภาคม 2557). การปลูกพืชอินทรีย์ ตอนที่ 1. เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (165), 99-102.
  • เกษม สร้อยทอง. (มิถุนายน 2557). การปลูกพืชอินทรีย์ (ตอนที่ 2). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (166), 100-104.
  • ความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและไทยด้านสวัสดิภาพสัตว์. (พฤษภาคม 2557). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (165), 54-55.
  • โครงการธรรมชาติปลอดภัย เครือเจริญโภคภัณฑ์กับภารกิจตอบแทนคุณแผ่นดิน ในพื้นที่โครงการขยายผลของโครงการปิดทองหลังพระฯ จ. น่าน. (มิถุนายน 2557). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (166), 26-28.
  • จับตา ... ไทยรักษาแชมป์ผู้นำยางพาราโลก. (พฤษภาคม 2557). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (165), 86-88.
  • ทิศทางพืชเศรษฐกิจไทยเข้าสู่เออีซี. (มิถุนายน 2557). เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, (มิถุนายน 2557), 14 (166), 71-73.
  • วิชาญ อาทากูล. (มิถุนายน 2557). กาแฟขี้ชะมดเพื่อสร้างรายได้. เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่, 14 (166), 74-77.

ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร

  • ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม และ ดุลยลักษณ์ ตราชูธรรม. (มิถุนายน 2557). กำหนดเวลาขอคืนภาษีอากร. ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร,33 (393), 75-79.
  • เพิ่มบุญ แก้วเขียว. (มิถุนายน 2557). ปัญหาการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม “เงินค่าบำรุง” การเป็นสมาชิกสหกรณ์. ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร, 33 (393). 44-49.
  • สมเดช โรจน์คุรีเสถียร. (มิถุนายน 2557). กู้เงินอย่างไร ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ. ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. 33 (393), 85-93.
  • อวิรุทธ์ ชาญชัยกิตติกร. (มิถุนายน 2557). ภาษีท้องถิ่นที่ควรรู้ (ตอนที่ 4). ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร,33 (393), 61-68.

นโยบายพลังงาน

  • การดำเนินงานตามแผนอนุรักษ์พลังงานกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน. (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 26-27.
  • การปรับปรุงคุณภาพน้ำมัน. (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 17-18.
  • การปรับราคาขายปลีกน้ำมันเชื้อเพลิง. (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 23-25.
  • การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า (Load Forecast). (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 38-39.
  • การพัฒนาพลังงานทดแทนของไทยใน 15 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2551-2565). (เมษายน- มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 28-31.
  • การยกเลิกการจำหน่ายน้ำมันเบนซินพิเศษที่มีตะกั่ว. (เมษายน-มิถุนายน 2556).  นโยบายพลังงาน, (100), 19-22.
  • การส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอลและไบโอดีเซล. (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 40-45.
  • กำหนดส่วนเพิ่มอัตรารับซื้อไฟฟ้า (Adder). (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 36-37.
  • วิกฤตการณ์น้ำมันครั้งที่ 3 อิรักบุกยึดคูเวต. (เมษายน-มิถุนายน 2556). นโยบายพลังงาน, (100), 10-16.

บทบัณฑิตย์

  • ขวัญกมล ทิพย์มโนสิงห์. (มีนาคม 2557). ปัญหาการทับซ้อนทางกฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, บทบัณฑิตย์, 70 (1), 46-66.
  • ปัญหากฎหมายวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคของไทย: ศึกษากรณีบทนิยามคำว่า คดีผู้บริโภค. (มีนาคม 2557).บทบัณฑิตย์, 70 (1), 95-126.
  • ภัทรภร นิชโรจน์. (มีนาคม 2557). บทบาทของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เกี่ยวกับการพิจารณาคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย. บทบัณฑิตย์, 70 (1), 158-170.
  • สุจิตรา ใจเอื้อ. (มีนาคม 2557). การคืนลาภมิควรได้ที่เป็นเงิน. บทบัณฑิตย์, 70 (1). 28-39.

For Quality

  • ฉัตรชัย ธนฤดี. (พฤษภาคม 2557). กลยุทธ์กับโครงสร้างองค์การสิ่งไหนสำคัญกว่ากัน? ตอนที่ 2. For Quality,21 (199), 22-24.
  • ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (พฤษภาคม 2557). ทุนมนุษย์ จะจัดการอย่างไร. For Quality,21 (199), 73-76.
  • สมภพ มานะรังสรรค์. (พฤษภาคม 2557). เปรียบเทียบพัฒนาการทางเศรษฐกิจของจีนและญี่ปุ่น. For Quality, 21 (199), 49-50.

ศิลปวัฒนธรรม

  • ไกรฤกษ์ นานา. (พฤษภาคม 2557). ตะลึง! Blueprint ยุครัชกาลที่ 5 โครงการช้างทางรถไฟสยามสู่จีน “เหตุที่โครงการถูกยุบ” ตอนจบ. ศิลปวัฒนธรรม, 35 (7), 98-121.
  • ชัยพงษ์ สำเนียง และพิสิษฏ์ นาสี. (พฤษภาคม 2557). ประวัติศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ : จากทางรถไฟสู่การแย่งชิงทรัพยากร. ศิลปวัฒนธรรม, 35 (7), 146-169.
  • เชิดชาย บุตดี. (พฤษภาคม 2557). บทบาทญาคูสีทัด ต่องานพุทธศิลป์ในพื้นที่สองฝั่งโขง. ศิลปวัฒนธรรม,35 (7), 122-145.
  • เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. ไทยเหนือ ไทยใต้ คนเมือง : ร่องรอยความขัดแย้งระหว่างล้านนากับสยาม.ศิลปวัฒนธรรม, 35 (7), 72-89.
  • บัณฑิต จุลาสัย และรัชดา โชติพานิช. (พฤษภาคม 2557). พระอุเทนธิราช. ศิลปวัฒนธรรม, 35 (7), 28-33.
  • วรชาติ มีชูบท. (พฤษภาคม 2557). คนเมือง. ศิลปวัฒนธรรม, 35 (7), 90-97.
  • ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. (พฤษภาคม 2557). กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ พระจริยวัตรและวิถีในพระชนมชีพที่แตกต่างจากเจ้านายพระองค์อื่น. ศิลปวัฒนธรรม, 35 (7), 24-26.

ส่งเสริมการลงทุน

  • พัชรดา นวกะวงษ์การ. (เมษายน 2557). คาร์บอนเครดิต ... การพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. ส่งเสริมการลงทุน. 25 (4), 43-47.
  • พิชิต เดชนีรนาท. (เมษายน 2557). นโยบายและการส่งเสริมการลงทุนของเกาหลีในต่างประเทศ. ส่งเสริมการลงทุน, 25 (4), 58-63.
  • ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. (เมษายน 2557). R & D เกาหลีใต้ก้าวสู่อันดับ 2 ของโลก. ส่งเสริมการลงทุน, 25 (4), 28-30.
  • ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. (เมษายน 2557). เคล็ดลับความสำเร็จของอิสราเอลด้านนวัตกรรม. ส่งเสริมการลงทุน,25 (4), 25-27.
  • ศิรพันธ์ วัฒนานนท์. (เมษายน 2557). โครงการ ILP เชื่อมโยงทฤษฎีในตำรา ... สู่ภาคปฏิบัติอุตสาหกรรม. ส่งเสริมการลงทุน, 25 (4), 18-24.
  • สุวิดา ธัญวงษ์. (เมษายน 2557). มาตรการประหยัดพลังงานของภาคอุตสาหกรรม. ส่งเสริมการลงทุน, 25 (4), 31-42.
  • อดิพงษ์ คุณากรบดินทร์. (เมษายน 2557). แผนงานจีน 2557 ภายใต้หลี่โคโนมิกส์โมเดล. ส่งเสริมการลงทุน, 25 (4), 53-57.

สารคดี

  • จักรสิน น้อยไร่ภูมิ. (มิถุนายน 2557). อัตลักษณ์แห่งสถาปัตยกรรมเขียวสายพันธุ์ DOWN UNDER. สารคดี,30 (352), 40-41.
  • เบญจรงค์ สังขรักษ์ และคณะ. (มิถุนายน 2557). ปริศนากระทิงตายที่ป่ากุยบุรี. สารคดี, 30 (352), 64-65.
  • สุเจน กรรพฤทธิ์. (มิถุนายน 2557). ป. พิบูลสงคราม “จอมพลตราไก่” เล่าใหม่หลังครึ่งศตวรรษ. สารคดี, 30 (352), 72-113.
  • สุเจน กรรพฤทธิ์. (มิถุนายน 2557). ศาสนากับการเมืองในฟิลิปปินส์ จากมุมมอง ดร.มานูเอล วิกเตอร์ ซาปิตุลา. สารคดี, 30 (352), 62-63.

สิ่งแวดล้อม

  • เชษฐ์ ดิษยมาลย์. (เมษายน-มิถุนายน 2557). การกระจายอำนาจการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่รับผิดชอบของกรมชลประทาน. สิ่งแวดล้อม, 18 (2). 1-10.
  • ณัฏฐา ฐานีพานิชสกุล และธนสร ต้นศฤงมาร. (เมษายน-มิถุนายน 2557). HIA และบทบาทของหน่วยงานด้านสาธารณสุขในกระบวน EHIA ของประเทศไทย. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 11-19.
  • บัญชาการ วินัยพานิช. (เมษายน-มิถุนายน 2557). การส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินงานด้านการลดใช้ซ้ำ และแปรรูปใช้ใหม่ (Reduce Reuse Recycle : 3Rs). สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 41-47.
  • ประเสริฐ ภวสันต์ และคนอื่น ๆ. (เมษายน-มิถุนายน 2557). ถอดบทเรียน “5 ไม่” การจัดการขยะของชุมชน. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 48-54.
  • ปัณฑิตา ต้นวัฒนะ และคนอื่น ๆ. (เมษายน-มิถุนายน 2557). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมการท่องเที่ยว : กระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนที่ท่องเที่ยวชุมชน. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 55-62.
  • ปัทมวรรณ คุณประเสริฐ และคนอื่น ๆ. (เมษายน-มิถุนายน 2557). การกระจายอำนาจให้หน่วยงานท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 31-40.
  • วรรณี พฤติถาวร. (เมษายน-มิถุนายน 2557). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับภารกิจด้านการจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 20-30.
  • สุจิตรา วาสนาดำรงดี. (เมษายน-มิถุนายน 2557). Think Globally Act Locally : ความเคลื่อนไหวของถิ่นไทยสู่การเป็นเมืองคาร์บอนต่ำ. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 63-70.
  • สุรศักดิ์ นุ่มมีศรี. (เมษายน-มิถุนายน 2557). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหามลพิษจากฟาร์มสุกร โดยนำมาแปรสภาพเป็นพลังงานทดแทนในชุมชน. สิ่งแวดล้อม, 18 (2), 71-77.

อาหารและยา

  • นันทนา กลิ่นสุนทร และคนอื่น ๆ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). สารห้ามใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางทาสิว ทาฝ้า ทำให้หน้าขาว ในเขตภาคกลางตอนล่างระหว่างปี 2553-2556. อาหารและยา, 20 (3), 28-36.
  • นิรัตน์ เตียสุวรรณ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). หมุนไปกับโลกผลิตภัณฑ์สุขภาพ. อาหารและยา, 20 (3), 14-17.
  • ปัญญา ธีระกำจาย และคนอื่น ๆ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). รูปแบบกิจกรรมการตรวจผู้ประกอบการร้านชำในงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตตำบลบ้านค้อ อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม. อาหารและยา, 20 (3). 18-27.
  • ภวัญญา มีมั่งคั่ง. (กันยายน-ธันวาคม 2556). แนวทางการเลือกซื้อและการใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดด. อาหารและยา, 20 (3), 4-7.
  • มรกต จรูญวรรธนะ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). ระบบ Shipping tools วัตถุเสพติดที่ใช้ทางการแพทย์. อาหารและยา, 20 (3), 73-76.
  • วิชชุดา จริยะพันธุ์ และคนอื่น ๆ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). แนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซลล์ต้นกำเนิดสำเร็จรูป ทางห้องปฏิบัติการของประเทศไทย. อาหารและยา, 20 (3), 8-13.
  • วินิต อัศวกิจวิรี และคนอื่น ๆ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). การพัฒนารูปแบบการทบทวนทะเบียนตำรับยาและการนำไปสู่การปฏิบัติ. อาหารและยา, 20 (3), 47-59.
  • วิสิฐ จะวะสิต และคนอื่นๆ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). การพัฒนากระบวนการผลิตหน่อไม้ปี๊บที่ปลอดภัยสำหรับผู้ประกอบการขนาดเล็กโดยการประยุกต์ใช้เทคนิค Bag In Box. อาหารและยา, 20 (3), 60-72.
  • วิสิฐ จะวะสิต และคนอื่นๆ. (กันยายน-ธันวาคม 2556). การพัฒนากระบวนการผลิตหน่อไม้ปี๊บที่ปลอดภัยสำหรับผู้ประกอบการขนาดเล็กโดยการประยุกต์ใช้เทคนิค Bag In Box. อาหารและยา, 20 (3), 60-72.

HR MAGAZINE THAILAND SOCIETY

  • บล็อกภาษีข้างถนน. (มิถุนายน 2557). เบี้ยขยันของฉันมันต้องเสียภาษีหรือเปล่า?. HR MAGAZINE THAILAND SOCIETY, 12 (138), 79-82.
  • ปราณี สุขศรี. (มิถุนายน 2557).  ศัลยกรรม ความสวยเลือกได้ ... แต่ใส่ใจการบริการสักนิด !. (ตอนที่ 1). HR MAGAZINE THAILAND SOCIETY, 12 (138), 74-73.
  • พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น. (มิถุนายน 2557). เงินที่จ่ายระหว่างหยุดกิจการชั่วคราว (1). HR MAGAZINETHAILANDSOCIETY,12 (138), 69-73.
  • วรเศรษฐ์ เผือกสกนธ์. (มิถุนายน 2557). สหภาพแรงงาน ภาคจบ. HR MAGAZINE THAILAND SOCIETY, 12 (138), 63-66.