การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีทั้งคณะหรือรายบุคคล ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-2565

Author:
แดนชัย ไชวิเศษ, นิติกรเชี่ยวชาญ กลุ่มงานบริการวิชาการ 1 สำนักวิชาการ
หน่วยงาน :
No. of Pages:
142
Year:
2024

ส่วนที่ 1 บทนำ

ส่วนที่ 2 ความหมายและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560
-2.1 ความหมายของการเปิดอภิปรายทั่วไป
-2.2 เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

ส่วนที่ 3 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับการเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี
-3.1 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2560
-3.2 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2560 เกี่ยวกับการเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติ ไม่ไว้วางใจ
-ตารางที่ 1 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2560
-3.3 การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พุทธศักราช 2550 และพุทธศักราช 2560

ส่วนที่ 4 สถิติการขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีของประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2565
-4.1 การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2565
-4.2 การอภิปรายไม่ไว้วางใจตั้งแต่ พ.ศ. 2478-2565
-ตารางที่ 2 การอภิปรายไม่ไว้วางใจตั้งแต่ พ.ศ. 2478-2565
-4.3 ผลจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล

ส่วนที่ 5 การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจของต่างประเทศ
-5.1 การอภิปรายทั่วไปไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีในประเทศอังกฤษ
-5.2 การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีในประเทศฝรั่งเศส
-5.3 การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีในประเทศเยอรมนี
 
ส่วนที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
-6.1 บทสรุป
-6.2 ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม