รายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนากระบวนการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

Author:
คณาธิป ไกยชน, วิทยากรชำนาญการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ
หน่วยงาน :
No. of Pages:
77
Year:
2023

บทที่ 1 บทนำ
-1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
-1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
-1.3 ขอบเขตของการศึกษา
-1.4 วิธีการศึกษา
-1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
-1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
 
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
-2.1 แนวคิด ทฤษฎี และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
--2.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ (Public Hearing)
--2.1.2 แนวคิดการปรึกษาหารือสาธารณะ (Public Consultation)
--2.1.3 แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน
--2.1.4 หลักการรับฟังความคิดเห็นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
--2.1.5 หลักการรับฟังความคิดเห็นตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
---2.1.5.1 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
---2.1.5.2 การจัดทำระบบกลางทางกฎหมาย
--2.1.6 ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 หมวด 6 การเสนอและการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
--2.1.7 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้ง พ.ศ. 2562
--2.1.8 มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
--2.1.9 แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
-2.2 รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
--2.2.1 ปัญหาและข้อจำกัดในการรับฟังความคิดเห็นของประเทศไทย
--2.2.2 การรับฟังความคิดเห็นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
--2.2.3 การรับฟังความคิดเห็นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
--2.2.4 บทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
 
บทที่ 3 วิธีการศึกษา
-3.1 รายละเอียดวิธีการศึกษา
-3.2 ขั้นตอนการศึกษา
-3.3 วิธีการเก็บข้อมูล
-3.4 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
 
บทที่ 4 ผลการศึกษา
-4.1 แนวทางการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
--4.1.1 รูปแบบการรับฟังความคิดเห็นตามแนวคิดการปรึกษาหารือสาธารณะ
--4.1.2 แนวทางการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำกฎหมายที่ดีของประเทศสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD)
---4.1.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) และการรับฟังความคิดเห็นก่อนการตรากฎหมายของประเทศสมาชิก OECD
---4.1.2.2 รูปแบบการรับฟังความคิดเห็นภายใต้แนวคิดการปรึกษาหารือสาธารณะตามแนวทางขององค์การเพื่อความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) 
---4.1.2.3 หลักการสำคัญในการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำกฎหมายขององค์การเพื่อความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD)
---4.1.2.4 แนวปฏิบัติที่ดีของการวิเคราะห์ผลกระทบในการออกกฎหมายของกลุ่มประเทศสมาชิก OECD
---4.1.2.5 ตัวอย่างการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำกฎหมายที่ดีของประเทศสมาชิก OECD
--4.1.3 แนวทางการรับฟังความคิดเห็นในกระบวนการประเมินผลกระทบของกฎหมายของต่างประเทศ กรณีศึกษาประเทศออสเตรเลีย และประเทศมาเลเซีย
---4.1.3.1 แนวทางการรับฟังความคิดเห็นในกระบวนการจัดทำ (RIA) ของประเทศออสเตรเลีย
---4.1.3.2 แนวทางการรับฟังความคิดเห็นในกระบวนการจัดทำ RIA ของประเทศมาเลเซีย
-4.2 สภาพปัญหาและแนวทางการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
-4.3 แนวทางการพัฒนากระบวนการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรให้มีประสิทธิภาพ
--4.3.1 แนวทางการพัฒนาในระยะสั้น
--4.3.2 แนวทางการพัฒนาในระยะกลางและระยะยาว
 
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
-5.1 สรุปผลการศึกษา
-5.2 อภิปรายผล
-5.3 ข้อเสนอแนะ 
--5.3.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
--5.3.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ
 
บรรณานุกรม