สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับที่ 11 : พฤศจิกายน 2550

ผู้แต่ง :
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ. กลุ่มงานห้องสมุด
ปีที่เผยแพร่ :
2550
เดือน :
11
จำนวนหน้า :
59

 

สาระสังเขปบทความวารสารในเล่มนี้ ประกอบด้วย

วารสารกฎหมายใหม่

  • “คำซัดทอดของผู้ร่วมกระทำความผิดที่รับฟังเป็นพยานได้”.  / โดย สุรสิทธิ์ แสงวิโรจน์พัฒน์. ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 87 (กันยายน 2550) : 38-41.
  • “เปลี่ยนภาษีให้เป็นรายได้ เปลี่ยนรายได้ให้เป็นเงินออม”.  / โดย เถลิงศักดิ์ วงศ์วานิช. ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 87 (กันยายน 2550) : 34-35.
  • “รู้กฎหมายเตรียมพร้อมไม่ถูกหลอกเมื่อถูกจับ ยธ. ออกประกาศ “วงเงิน”ประกันตัวทุกความผิด”. / โดย สำนักงานกิจการยุติธรรม.  ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 87 (กันยายน 2550) :46-47.
  • “สินบนตุลาการ ... คดียุบพรรค”.  / โดย เมธี ศรีอนุสรณ์.  ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 87 (กันยายน 2550) : 4-13.

วารสารกรมบัญชีกลาง

  • “การบริหารการเงินการคลัง”.  / โดย สุทธิรัตน์ รัตนโชติ.  ว.กรมบัญชีกลาง.  ปีที่ 48 เล่ม 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 25-44.
  • “การลงโทษผู้ทิ้งงาน”.  / โดย เย็นตา อ่อนพานิช.  ว.กรมบัญชีกลาง.  ปีที่ 48 เล่ม 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 47-53.
  • “เปรียบเทียบความรับผิดทางแพ่งของเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และความรับผิดทางปกครองของฝ่ายปกครองตามกฎหมายปกครองในประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทย”. / โดย นิพนธ์ ฮะกีมี.  ว.กรมบัญชีกลาง.  ปีที่ 48 เล่ม 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) :1-22.

วารสารการเงินธนาคาร

  • “นวัตกรรมเทคโนโลยีกริดสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน”. ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 306 (ตุลาคม 2550) : 100.
  • “พันธกิจใหม่นำไทยพ้นวิกฤติ”.  / โดย สุวิทย์ เมษิณทรีย์.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 306 (ตุลาคม 2550) : 26.
  • “โรงพิมพ์ธนบัตรใหม่แบงก์ชาติ เทคโนโลยีขั้นสูงดันสู่ชั้นนำโลก”.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 306 (ตุลาคม 2550) : 142.
  • “สตรีผู้ทรงอิทธิพล 100 อันดับแรกของโลก”.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 306 (ตุลาคม 2550) : 92.
  • “สุดยอดเศรษฐีพันล้านอเมริกา”.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 306 (ตุลาคม 2550) : 90.

วารสารธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ

  • “กรณีปิดกิจการกะทันหันนายจ้างต้องรับผิดตามกฎหมายแรงงานเช่นใด”.  / โดย พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 58 (ตุลาคม 2550) : 27-34.
  • “ขายไม่ออกใบเสร็จรับเงิน ... มีโทษถึงขั้นติดคุก”.  / โดย ชาย กิตติคุณาภรณ์.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 58 (ตุลาคม 2550) : 22-26.
  • “คดีฟ้องเพิกถอนคำสั่งแต่งตั้งพลตำรวจเอก โกวิท เป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี”.  / โดย น้องแบม. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 58 (ตุลาคม 2550) : 86-97.
  • “ประกันสังคม ปัญหาในภาวะวิกฤติ”.  / โดย ปรานี สุขศรี.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 58 (ตุลาคม 2550) : 35-42.
  • “สิทธิ หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง”.  / โดย กองบรรณาธิการ.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 58 (ตุลาคม 2550) : 7-21.

วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • “การค้นหาหลักกฎหมายปัจจุบันในกฎหมายตราสามดวง”.  / โดย กฤษฎา บุณยสมิต. ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 483-516.
  • “ความสำคัญของนิติจิตเวชศาสตร์ในกระบวนการยุติธรรม”.  / โดย รณชัย คงสกนธ์ และ นฤมล โพธิแจ่ม.  ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 419-435.
  • “จริยธรรมกับการใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์”.  / โดย เจษฎ์ โทณะวณิก.  ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 437-463.
  • “ตุลาการ” และ “ผู้พิพากษา” ในกฎหมายไทยเดิม”.  / โดย อติรุจ ตันบุญเจริญ.ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 541-555.
  • “ปัญหากฎหมายและจริยธรรมจากการใช้เซลล์ต้นกำเนิด (Stem Cell)”.  / โดย แสวงบุญ เฉลิมวิภาส. ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 391-405.
  • “พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการใหม่ในการคุ้มครองเยาวชนของชาติ”. / โดย อำนาจ บุบผามาศ.  ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3      (กันยายน 2549) : 465-481.
  • “สิทธิมนุษยชนด้านสุขภาพในมุมมองขององค์การอนามัยโลก”. / โดย วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์. ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 557-562.
  • “หลักเกณฑ์ของข้อบังคับในการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ : ข้อเสนอการแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา กรณีแพทย์ทำแท้งได้โดยไม่ผิดกฎหมาย”.  / โดย ประมวล วีรุตมเสน. ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2549) : 407-418.

วารสารบทบัณฑิตย์

  • “การรื้อฟื้นคดีอาญาของจำเลย เปรียบเทียบไทยกับอังกฤษ”.  / โดย สืบพงศ์ โอภาพงพันธ์. ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 62 ตอนที่ 4 (ธันวาคม 2549) : 192-200.
  • “การนำแนวคิดทฤษฎีทางอาชญาวิทยามาใช้ในการวางเกณฑ์รอการลงโทษ”.  / โดย ทิพชฎา วิรยศิริ.  ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 62 ตอนที่ 4 (ธันวาคม 2549) : 110-139.
  • “ตำรวจกับการสอบสวนคดีอาญาในประเทศฝรั่งเศส”. / โดย อุทัย อาทิเวช.  ว. บทบัณฑิตย์. เล่มที่ 62 ตอนที่ 4 (ธันวาคม 2549) : 40-73.
  • “ปัญหาการดำรงตำแหน่งและการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาอาวุโสในศาลชั้นต้นตามที่กำหนดไว้ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540”. / โดย อุทิศ สุภาพ. ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 62 ตอนที่ 4 (ธันวาคม 2549) : 155-191.
  • “ปัญหาการเผยแพร่สื่อลามกอนาจารผ่านโปรแกรม Comfrog (ตอนที่ 1)”.  / โดย อำนาจเนราย สุภาพ และ อรวรรณ เดชโชติวุฒิ.  ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 62 ตอนที่ 4 (ธันวาคม 2549) : 74-109.
  • “ร่าง พ.ร.บ. สัญญาซื้อขายสินค้าทางพาณิชย์ : ข้อพิจารณาในหลักการและบทบัญญัติของกฎหมาย (ตอนที่ 1)”. / โดย กำชัย จงจักรพันธ์.  ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 62 ตอนที่ 4 (ธันวาคม 2549) : 1-39.
  • “สืบมรดก หรือ รับมรดกแทนที่”.  / โดย วรวุฒิ เทพทอง.  ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 62 ตอนที่4 (ธันวาคม 2549) : 201-212.

วารสารบริหารธุรกิจ

  • “การวิเคราะห์เปรียบเทียบเทคนิคการจัดพอร์ทหุ้นทางทฤษฎีและฝีมือผู้จัดการกองทุน”.  / โดย อาณัติ ลีมัคเดช.  ว.บริหารธุรกิจ.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 115 (กรกฎาคม-กันยายน 2550) : 9-21.
  • “เป้าหมายเงินเฟ้อ”.  / โดย สิปปภาส พรสุขสว่าง.  ว.บริหารธุรกิจ.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 115 (กรกฎาคม-กันยายน 2550) : 23.
  • “องค์การการเรียนรู้ที่แท้จริง”. / โดย เกรียงไกรยศ พันธุ์ไทย.  ว.บริหารธุรกิจ.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 115 (กรกฎาคม-กันยายน 2550) : 31-43.

วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

  • “กระบวนการยุติธรรมในสังคมไทย ศึกษากรณี การตรวจสอบการใช้อำนาจคณะกรรมการการเลือกตั้ง”.  / โดย กาญจน์ วรกุล.  ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 23-34.
  • “กระบวนการยุติธรรมในสังคมไทย : ศึกษากรณีปัญหาการบุกรุกเขตอุทยานแห่งชาติ”.  / โดย พินิจ ตันติวิญญูพงศ์.  ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 115-124.
  • “การออกกฎหมายในกรอบจริยธรรมและศีลธรรม”.  / โดย วิชช์ จีระแพทย์.ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 7-22.
  • “แนวคิดและหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งและสัญญาทางปกครอง”.  / โดย วรเจตน์  ภาคีรัตน์.  ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 149-168.
  • “บทบาทของสำนักงานอัยการสูงสุดในการพัฒนากฎหมาย”.  / โดย พชร ยุติธรรมดำรง.  ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 35-46.
  • “ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภากับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา”.  / โดย กีรป กฤตธีรานนท์.  ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 99-114.
  • “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 : คำสั่งทางปกครอง”.  / โดยปรีดา  เวทยาวงศ์.  ว.ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา.  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2550) : 169-188.

วารสารผู้ส่งออก

  • “การปรับตัวของผู้ส่งออกไทยต่อวิกฤตซับไพร์มของอเมริกา”. ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 485  (ปักษ์หลัง ตุลาคม 2550) : 79.
  • “การลงทุนในกัมพูชา ข้อมูลพื้นฐาน : การเดินทางเข้าออกราชอาณาจักรกัมพูชาและการขอวีซ่า”. ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 485 (ปักษ์หลัง ตุลาคม 2550) : 25.
  • “การให้บริการธุรกิจ ... ในยุค  IT กับการพัฒนาธุรกิจการค้า”.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 485 (ปักษ์หลัง ตุลาคม 2550) : 36.
  • “ข้าวหอมมะลิอินทรีย์วิถีสุรินทร์ ผลผลิตทางการเกษตรแบบยั่งยืน”.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 485 (ปักษ์หลัง ตุลาคม 2550) : 47.
  • “ย้อนรอย ... การปูทางเขตการค้าเสรีของไทย & หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ”.  / โดย กุลวัตน์ บัวสวัสดิ์. ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 485 (ปักษ์หลัง ตุลาคม 2550) : 39.
  • “ระบบการศึกษาในประเทศจีน”.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 485 (ปักษ์หลัง ตุลาคม 2550): 31.

วารสารรัฐสภาสาร

  • “กฎหมายขายตรงและตลาดแบบตรง”  / โดย นารี กิตติสมบูรณ์สุข และ มนันญา ภู่แก้ว. ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 117-154.
  • “การกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทางเป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน”. / โดย ณัฐภัทร ถวัลยโพธิ.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2550) : 28-51.  
  • “การบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน”.  / โดย วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 21-60.
  • “การลดปริมาณคดีในศาล”.  / โดย วิชช์ จีระแพทย์.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2550) : 52-63.
  • “การออกกฎหมายในกรอบของจริยธรรมและศีลธรรม”.  / โดย วิชช์ จีระแพทย์. ว.รัฐสภาสาร. ปีที่ 55 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2550) : 1-16.
  • “ธรรมาภิบาล : จากแนวความคิดสู่หลักปฏิบัติเพื่อการบริหารราชการภาครัฐ”.  / โดย ชัชวาลย์ ทัตศิวัช์.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 61-105.
  • “นโยบายแห่งรัฐ : ทำไมรัฐบาลชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงต้องแถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ”.  / โดย บุญเรือง บูรภักดิ์.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55      ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 130-168.
  • “แนวความคิดและการจัดความรู้ความเข้าใจทางการเมืองการปกครอง”.  / โดย ชัชวาล ทัตศิวัช์.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2550) : 45-78.
  • “แนวคิดเกี่ยวกับการยกร่างรัฐธรรมนูญ : สถาบันทางการเมืองว่าด้วย ส.ส. และ ส.ว.”.  / โดย เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2550) : 7-19.
  • “ประเด็นยกร่างรัฐธรรมนูญปี 2540 : ข้อควรรู้ในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา)”. / โดย รุจิเรข ชุ่มเกษรกูลกิจ และ สมัชญ์  สมบัติพานิช.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 7-75.
  • “ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม”.  / โดย วิษณุ บุญมารัตน์.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 4  (เมษายน 2550) : 109-116.
  • “รัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยไทย”.  / โดย เสนีย์ คำสุข.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2550) : 82-128.
  • “วิกฤตการเมืองเหตุแห่งการใช้งบประมาณไปพลางก่อนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550”.  / โดย นุกูล สัญฐิติเสรี.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2550) : 17-43.
  • “สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม สาธารณรัฐฝรั่งเศส ต้นแบบสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : กลไกการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผน”.  / โดย พรรณราย ขันธกิจ.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2550) : 64-113.
  • “เหลียวหลัง แลหน้า รัฐธรรมนูญ 2540 เพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 18”.  / โดย จีรพงศ์ วัฒนะรัตน์.  ว.รัฐสภาสาร.  ปีที่ 55 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2550) : 7-27.

วารสารวิชาการศาลปกครอง

  • “การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมและคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของประเทศญี่ปุ่น”.  / โดย ชาญวิทย์ ชัยกันย์.  ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 132-141.
  • “การนำรูปแบบการดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action) มาใช้ในคดีปกครอง”.  / โดย อนุพร  อรุณรัตน์.  ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 43-84.
  • “ความเกี่ยวพันระหว่างคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการจัดทำบริการสาธารณะในสัญญาทางปกครอง”. / โดย ชาญชัย แสวงศักดิ์.  ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 1-10.
  • “ความปลอดภัยทางชีวภาพ : ประเด็นสิ่งแวดล้อมที่ต้องรู้”.  / โดย เจษฎ์ โทณะวณิก. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 85-113.
  • “Superfund Law : กฎหมายบำบัดแหล่งปนเปื้อนขยะอันตรายร้ายแรงของสหรัฐอเมริกา”.  / โดย เพ็ญนภา พจชมานะวงศ์.  ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 123-131.
  • “แนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องในคดีสิ่งแวดล้อม”.  / โดย ประพจน์ คล้ายสุวรรณ. ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 11-42.

วารสารศาลยุติธรรมปริทัศน์

  • “กฎหมายลักษณะพยานของไทย เป็นกฎหมายในระบบกล่าวหาจริงหรือ”.  / โดย ชวเลิศ  โสภณวัต.  ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน์.  ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2550) : 31-41.
  • “การครอบครองปรปักษ์ทรัพย์ของผู้อื่น ผู้ร้องต้องสุจริต”.  / โดย ชัยฤทธิ์ ลีลาเกรียงศักดิ์. ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน์.  ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2550) : 42-45.
  • “การพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ของศาลญี่ปุ่น”.  / โดย ลาชิต ไชยอนงค์. ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน์.  ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2550) : 84-105.
  • “ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของผู้มีเงินได้ประเภทเงินเดือน”.  / โดย  พนิตนาถ เย็นทรัพย์.  ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน์.  ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2550) : 8-30.
  • “สงสารประเทศไทย เมื่อไรคนไทย จะมีรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเสียที”.  / โดย สุชาย จอกแก้ว.  ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน์.  ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2550) : 46-54.

วารสารศิลปวัฒนธรรม

  • “เจนเสน : ฝรั่งวีรบุรุษสยาม”.  / โดย อภิรัตน์ รัตนชัย.  ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2550) : 111.
  • “ตามหาพระบรมรูปทรงม้ารัชกาลที่ 5 ที่เราไม่ทันได้เห็นในรอบ 100 ปี”.  / โดย ไกรฤกษ์  นานา. ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2550) : 88.
  • “นิสัยคนไทย สมัยพระพุทธเจ้าหลวง”.  / โดย จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา.ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2550) : 46.
  • “ปรัชญาขงจื้อในสังคมไทย ความเป็นจีนที่เปลี่ยนไปตามบริบท”.  / โดย วิภา จิรภาไพศาล. ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2550) : 32.
  • “พระบรมรูปหล่อฐานกลมและฐานเหลี่ยมในรัชกาลที่ 5”.  / โดย ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์.  ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2550) : 44.
  • “พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ว่าด้วยวัดพระนามบัญญัติ วัดราชประดิษฐ์ฯ”.  ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2550) : 79.

วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์

  • “ผลกระทบของการเปิดเสรีการค้าและการปรับตัวในห่วงโซ่อุปทานในภาคอุตสาหกรรมสิ่งทอของไทย”.  / โดย เกรียงไกร เตชกานนท์ และ ภัททา เกิดเรือง. ว.เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2550) : 1-59.
  • “ผลกระทบของ nontraditional activitiesที่มีประสิทธิภาพการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทย”.  / โดย เต็มศิริ เอื้อวิเศษวัฒนา.  ว.เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2550) : 65-89.

วารสารส่งเสริมการลงทุน

  • “ก้าวใหม่ของมณฑลเหลี่ยวหนิง”.  / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์.  ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 55.
  • “ถึงเวลาที่รัฐต้องพัฒนาแรงงานเพิ่มสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อดึงดูดการลงทุนจากสหรัฐอเมริกา”. / โดย ณรงค์ชัย สามภักดี.  ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 16.
  • “บีโอไอกับการลงทุนจากยุโรป”.  / โดย กาญจนา นพพันธ์.  ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 13.
  • “มณฑลเหลี่ยวหนิงกับการพัฒนาอุตสาหกรรม”.  / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์.  ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 45.
  • “มาตรการเชิงรุกบีโอไอชักจูงการลงทุนจากต่างประเทศ”.  / โดย ชลลดา อารีรัชชกุล. ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 8.
  • “ลู่ทางการลงทุนในตลาดใหม่”.  / โดย ชลลดา อารีรัชชกุล และ สุนันทา อักขระกิจ. ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 32.
  • “SMART CAST เทคโนโลยีล้ำหน้าเพื่องานก่อสร้างยุคใหม่”.  / โดย กาญจนา นพพันธ์ และสุนันทา อักขระกิจ.  ว.ส่งเสริมการลงทุน.  ปีที่ 18 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) : 38.

วารสารเสนาธิปัตย์

  • “การปรับปรุงงานข่าวกรองในการต่อต้านการก่อการร้าย”.  / โดย พ.อ.กิตติพงษ์ ธีรรัตนพันธุ์.  ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 50-57.
  • “การพัฒนาองค์การ : หน้าที่หลักของผู้นำทางทหาร ในสงครามยุคที่ 4”.  / โดย เสือภูเขาแดง-เหลือง. ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 11-20.
  • “การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศทางทหารด้วย World Wind  (Army World Wind)”.  / โดย ฤกษ์ อิทราวุธ.  ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 66-70.
  • “กองทัพไทยในศตวรรษที่ XXI”.  / โดย ธนศักดิ์ สุทธิเทศ.  ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 6-10.
  • “เข้าใจ ปอเนาะ”. / โดย ภูเขาทอง.  ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 31-38.
  • “เงินบาทแข็งค่า : ปัญหาและทางออกของผู้ส่งออกไทย”. / โดย เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.   ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 79-86.
  • “เปิดแนวรบสงครามทางความคิดดับไฟใต้”. / โดย บุญรอด ศรีสมบัติ.  ว.เสนาธิปัตย์.  ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 39-49.
  • “ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ (Non-Traditional Threats)”. / โดย เฉลิมชนม์ ดวงกลาง. ว.เสนาธิปัตย์. ปีที่ 56 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) : 22-30.

วารสาร Foreign Affairs

  • “A false choice in Pakistan”.  / by Daniel Markey.  Foreign Affairs.Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 85-102.
  • “A new deal for globalization”.  / by Kenneth F. Scheve and Matthew J.Slaughter. Foreign Affairs.  Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 34-47.
  • “Nigeria’s rigged democracy”.  / by Jean Herskovits.  Foreign Affairs.Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 115-130.
  • “Overhauling Intelligence”.  / by Mike McConnell.  Foreign Affairs.Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 49-58.
  • “Renewing American leadership”.  / by Barack Obama.  Foreign Affairs.Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 2-16.
  • “The return of authoritarian great powers”.  / by Azar Gat.  Foreign Affairs.  Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 59-69.
  • “Turkey rediscovers the Middle East”.  / by F. Stephen Larrabee.Foreign Affairs.  Vol. 86 No.4 (July/August 2007) : 103-114.

วารสาร Oxford Journal of Legal Studies

  • “Freedom of assembly, consequential harms and the rule of law: liberty-limiting principles in the context of transition”.  / by Michael Hamilton. Oxford Journal of Legal Studies.  Vol.27 No.1 (Spring 2007) : 75-100.
  • “Jhering’s philosophy of authority”.  / by Neil Duxbury.  Oxford Journal of Legal Studies. Vol.27 No.1 (Spring 2007) : 23-47.
  • “Self-control in the modern provocation defence”.  / by Richard Holtonand Stephen Shute.  Oxford Journal of Legal Studies.  Vol.27 No.1 (Spring 2007) :49-73.
  • “The idea of a European Constitution”.  / by Pavlos Eleftheriadis.Oxford Journal of Legal Studies.  Vol.27 No.1 (Spring 2007) : 1-21.
  • “The shifting and multiple border and international law”.  / by Alison Kesby.  Oxford Journal of Legal Studies.  Vol.27 No.1 (Spring 2007) : 101-119.

วารสาร The Journal of Strategic Studies

  • “Managed Great Power Relations: Do we see ‘one-up and one-down?”.  / by Quansheng Zhao.  The Journal of Strategic Studies.  Vol.30 No.4-5 (August-October 2007) : 609-637.
  • “Power transitions, institutions, and China’s rise in East Asia : theoretical expectations and evidence”.  / by Avery Goldstein.  The Journal of Strategic Studies.  Vol.30 No.4-5 (August-October 2007) : 639-682.
  • “Remolding great power politics: China’s strategic partnerships with Russia, the European Union, and India”.  / by Yong Deng.  The Journal of Strategic Studies. Vol.30 No.4-5 (August-October 2007) : 863-903.
  • “Southeast Asian perspectives on the China challenge”.  / by Evelyn Goh.  The Journal of Strategic Studies Vol.30 No.4-5 (August-October 2007) : 809-832.
  • “The challenges of a rising China”.  / by Quansheng Zhao and Guoli Liu. The Journal of Strategic Studies Vol.30 No.4-5 (August-October 2007) : 585-608.