สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับที่ 3 : มีนาคม 2556

ผู้แต่ง :
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ. กลุ่มงานห้องสมุด
ปีที่เผยแพร่ :
2556
เดือน :
03
จำนวนหน้า :
44

 

สาระสังเขปบทความวารสารในเล่มนี้ ประกอบด้วย

กฎหมายธุรกิจ

  • “อัตราค่าจ้างขั้นต่ำวันละ 300 บาท ทั่วประเทศ คำนวณอย่างไร”. / โดย พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น.ปีที่ 10 ฉบับที่ 120 (ธันวาคม 2555) : 11-16.
  • “เงินออม” ที่กองทุนประกันสังคมต้องจ่ายคืนเมื่อถึงเวลา”.  / โดย ปรานี สุขศรี.  ว.กฎหมายธุรกิจ.ปีที่ 10 ฉบับที่ 120 (ธันวาคม 2555) : 85-94.
  • สวัสดิการให้แล้วห้ามเปลี่ยนแปลงจริงหรือ”.  / โดย วรเศรษฐ์ เผือกสกนธ์.  ว.กฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 10ฉบับที่ 120 (ธันวาคม 2555) : 73-76.
  • “การบริหาร “สวัสดิการ” ของฝ่ายบุคคล : ศึกษากรณี “การได้อยู่บ้านพัก/หอพักนายจ้าง”.  / โดยเพิ่มบุญ แก้วเขียว.  ว.กฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 10 ฉบับที่ 120 (ธันวาคม 2555) : 77-84.

กฎหมายนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • “กฎหมายว่าด้วยการจัดทำซองบุหรี่แบบเรียบหรือซองบุหรี่แบบมาตรฐาน”.  / โดย เอื้ออารีย์ อิ้งจะนิล.  ว.กฎหมายนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 (2555) : 49-69.
  • “บทวิเคราะห์คำพิพากษาศาล : คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6065/2554 (หลักการตีความกฎหมายและความเป็นนิติบุคคลมหาชนของสำนักสงฆ์)”.  / โดย อานนท์ มาเม้า.  ว.กฎหมายนิติศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 (2555) : 115-124.
  • “บทวิจารณ์หนังสือ : ABA SECTION OF ANTITRUST LAW, “Econometrics : Legal, Practical, and Technical Issues,” (2005)”. / โดย ธิดาพร ศิริถาพร.  ว.กฎหมายนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 (2555) : 125-128.
  • “พระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1998 และหลักอำนาจอธิปไตยของรัฐสภา : รัฐสภาสหราชอาณาจักรยังคงมีอำนาจอธิปไตยจริงหรือ?”. / โดย รวินท์ ลีละพัฒนะ.  ว.กฎหมายนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 (2555) : 91-97.
  • “พระราชอำนาจและแนวคิดทางกฎหมายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช”.  / โดย ชัชพล ไชยพร.  ว.กฎหมายนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 (2555) : 1-31.

การเงินธนาคาร

  • “การบริหารจัดการธุรกิจครอบครัว : บทเรียนจากสเปน ตอน 2”.  / โดย กิติพงษ์ อุรพีพัฒนพงศ์.ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 369 (มกราคม 2556) : 213-215.
  • “7 วาระยกเครื่องประเทศไทยหลุดพ้นกับดักชาติที่ล้มเหลว”.  / โดย สุวิทย์ เมษิณทรีย์. ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 369 (มกราคม 2556) : 50-56.
  • “ประเทศไทยต้องเป็นอย่างไร? ในสายตา ยิ่งลักษณ์-อภิสิทธิ์”.  / โดย สุวิทย์ เมษิณทรีย์.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 370 (กุมภาพันธ์ 2556) : 50-56.
  • “เปิดภัยคุกคามไซเบอร์ปี 56 แฮกเกอร์พุ่งเป้าผู้ใช้มือถือ”.  ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 369 (มกราคม 2556) : 92-94.
  • “เปิดเสรีอาเซียน : ใครได้ประโยชน์? เมืองห้วยทราย VS ด่านเชียงของ”./ โดย กชกร พรมไชย.ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 370 (กุมภาพันธ์ 2556) : 228-230.
  • “ผู้นำยุค AEC ต้องเก่งเรื่องการเงิน”.  / โดย พรสรัญ รุ่งเจริญกิจกุล.  ว.การเงินธนาคาร.ฉบับที่ 369(มกราคม 2556) : 211-212.
  • “ฟิลิปปินส์ : ภาษาดี บริการเด่น โอกาสเปิดธุรกิจเพื่อบริโภค/แรงงาน”. ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 370 (กุมภาพันธ์ 2556) : 118-121.
  • “สิงคโปร์คิดการใหญ่ สร้าง Silicon Valley เขตร้อน ปั้น Mark Zuckerberg คนที่สอง”./ โดย สันติ วิริยะรังสฤษฎ์.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 370 (กุมภาพันธ์ 2556) : 24-26.
  • “18 ผู้ทรงอิทธิพลในเมียนมาร์”.  / โดย กองบรรณาธิการ.  ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 369 (มกราคม 2556) : 201-207.
  • “อีก 18 ปีสังคมไทยวิกฤตคนแก่เกิน 1 ใน 4 ของประเทศ”. / โดย พรพิมล คูอนุพงศ์.ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 369 (มกราคม 2556) : 28-30.
  • “AEC กับการลงทุนใน “ทุนมนุษย์” หนทางสู่ความสำเร็จของไทยในภูมิภาค”. ว.การเงินธนาคาร.ฉบับที่ 369 (มกราคม 2556) : 208-210.

ดอกเบี้ย

  • “ข้อตกลง TPP ที่ระลึกจากการเยือนไทยของโอมาบา”.  / โดย บริษัทศูนย์วิจัยกสิกรไทย.  ว.ดอกเบี้ย.ปีที่ 31 ฉบับที่ 378 (ธันวาคม 2555) : 83-88.
  • “ค่าแรง 300 บาท แรงส์!”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 379 (มกราคม 2556) : 24-32.
  • “เจ้าสัวซีพีลงทุนประกันจีน เซอร์ไพรส์เมกะโปรเจ็กต์”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 378 (ธันวาคม 2555) : 94-96.
  • “ธกส. ธนาคารแห่งปี 2012 Bank For the Year”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 378 (ธันวาคม 2555) : 38-46.
  • “แบงก์ไทยนุ่งโสร่งวันที่ถนนทุกสายมุ่งสู่พม่า”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 379 (มกราคม 2556) : 38-45.
  • “สตรีผู้ทรงอิทธิพลของโลก 100 อันดับประจำปี 2555”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 379 (มกราคม 2556) : 88-92.
  • “สภาอุตสาหกรรมแตก”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 378 (ธันวาคม 2555) : 64-72.
  • “หยวนแทนที่ดอลลาร์เร็วกว่าที่คิด”. / โดย แสงไทย เค้าภูไท.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 31 ฉบับที่ 378 (ธันวาคม 2555) : 77-78.

ธรรมนิติ ฉบับ เอกสารภาษีอากร

  • “กลยุทธ์การจัดการงานบัญชีไม่ให้บกพร่องต่อการสอบบัญชี (ตอนที่ 1) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด”. / โดย สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์.  ปีที่ 32  ฉบับที่ 376 (มกราคม 2556) : 123-129.
  • “การวางแผนกำไร โดยใช้งบประมาณ (ตอนที่ 1)”. / โดย  เบญจมาศ  อภิสิทธิ์ภิญโญ. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร.ปีที่  32  ฉบับที่  376  (มกราคม2556) : 115 – 122.
  • “เทคนิคการเลือกซื้อ Condo”.   / โดย กองบรรณาธิการ.  ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร.  ปีที่ 32ฉบับที่   376  (มกราคม 2556) : 33 – 34.
  • “เมื่อสัญญาเปลี่ยนไป ภาระภาษีเปลี่ยนตาม กรณีศึกษา (Case Study) สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญกับสัญญาจัดตั้งคณะบุคคล”. /โดย เพิ่มบุญ  แก้วเขียว.  ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร.  ปีที่  2 ฉบับที่ 376(มกราคม 2556) : 50 – 64.
  • “เอกชนจีนคาดหวังอะไรจากอาเซียน”. / โดย อักษรศรี  พานิชสาน์ส. ว. ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร.ปีที่32ฉบับที่ 376 (มกราคม 2556) : 30– 32.    

นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • “การจัดทำประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต”.  / โดย สุปรียา แก้วละเอียด.  ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2555) : 713-752.
  • “การเปลี่ยนแปลงแนวคำวินิจฉัยและผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ :ศึกษากรณีศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกาและศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี”.  / โดย วรเจตน์ ภาคีรัตน์.  ว.นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2555) : 645-684.
  • “การหลีกเลี่ยงวิธีพิจารณาความที่มีลักษณะเลือกปฏิบัติโดยอาศัยข้อกำหนดว่าด้วยชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่งในการอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ : มุมมองจากคดี Daimler v. Argentina”./ โดย นาถนิรันดร์ จันทร์งาม.  ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2555) :753-787.
  • “ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง”. / โดย วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม.  ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2555) :605-644.
  • “ร่างกฎหมายว่าด้วยแร่ (ฉบับใหม่) กับการรับรองและส่งเสริม “สิทธิชุมชน” ตามรัฐธรรมนูญ”.  / โดยนนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์.ว.นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ปีที่ 41 ฉบับที่4 (ธันวาคม 2555) :685-712.

บทบัณฑิตย์

  • “การเปรียบเทียบและงดการฟ้องร้องตามกฎหมายศุลกากร”.  / โดย วรากร ชวาลา.  ว.บทบัณฑิตย์.เล่มที่ 68 ตอน 3 (กันยายน 2555) : 1-27.
  • “การให้ผู้เสียหายยินยอมในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาแก่เด็กหรือเยาวชนตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553”. / โดย ปิยาภรณ์ พิสิฐทิพย์.  ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 68 ตอน 3 (กันยายน 2555) : 135-142.
  • “ปัญหาข้อกฎหมายในการเก็บทรัพย์สินอันตกหรือทิ้งทะเล หรือทางน้ำ หรือน้ำซัดขึ้นฝั่ง”.  / โดย ทวีศักดิ์ เอื้ออมรวนิช.  ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 68 ตอน 3 (กันยายน 2555) : 28-56.
  • “สถานะของปัจเจกชนในบริบทกฎหมายระหว่างประเทศสมัยใหม่”. / โดย อานนท์ ศรีบุญโรจน์.ว.บทบัณฑิตย์.  เล่มที่ 68 ตอน 3 (กันยายน 2555) : 77-88.

FOR  QUALITY

  • “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยิ่งใหญ่ในอาเซียน”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.For Quality. ปีที่ 19 ฉบับที่ 183 (มกราคม 2556) : 55-58.
  • “ความตื่นตัวด้านบริหารธุรกิจของเด็กจีน”. / โดย สมภพ มานะรังสรรค์.  ว.For Quality.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 183 (มกราคม 2556) : 69-70.
  • “ค่าใช้จ่ายด้าน HR จะจัดการอย่างไร? เมื่อต้องปรับค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศ”./ โดย ประเวศน์ มหารัตน์สกุล.  ว.For Quality.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 184 (กุมภาพันธ์ 2556) : 83-86.
  • “คุณภาพ คืออะไร”.  / โดย วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์.  ว.For Quality.  ปีที่ 19  ฉบับที่ 183 (มกราคม 2556) : 26-28.
  • “วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยภายใต้ศักราชใหม่ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย”./ โดย กองบรรณาธิการ.  ว.For Quality. ปีที่ 19 ฉบับที่ 183 (มกราคม 2556) : 59-62.
  • “เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : จากทุนนิยมทำลาย สู่ ทุนนิยมสร้างสรรค์ เชลเตอร์ บาร์นาร์ด ผู้นำร่องขบวนการมนุษย์นิยม ตอนที่ 2”.  / โดย สมบัติ กุสุมาวลี.  ว.For Quality.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 183 (มกราคม 2556) : 84-86.
  • “เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : จากทุนนิยมทำลายสู่ทุนนิยมสร้างสรรค์ เชลเตอร์ บาร์นาร์ด ผู้นำร่องขบวนการมนุษย์นิยม ตอนที่ 3”. / โดย สมบัติ กุสุมาวลี.  ว.For  Quality.ปีที่ 19 ฉบับที่ 184 (กุมภาพันธ์ 2556) : 77-80.
  • “5 อันดับสูงสุดของปัญหาด้าน HRD”. / โดย ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์.  ว.For Quality ปีที่ 19 ฉบับที่ 184(กุมภาพันธ์ 2556) : 75-76.
  • “AEC กับจีน : วิกฤตเศรษฐกิจของยุโรป”. / โดย สุพัตรา สุภาพ.  ว.For Quality ปีที่ 19 ฉบับที่ 184 (กุมภาพันธ์ 2556) : 63-66.

รัฐศาสตร์สาร

  • “การต่อต้าน “ประชาธิปไตยแบบฝรั่ง” และสถาปนา “ประชาธิปไตยแบบพุทธ” ของปัญญาชนฝ่ายค้านไทยสายพุทธศาสนาในช่วงระหว่างปี 2524-2534”.  / โดย ธิกานต์ ศรีนารา.  ว.รัฐศาสตร์สาร.ม.ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2555) : 150-212.
  • “การศึกษาสังคมจีนในประเทศไทยภายใต้บริบททางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์การเมือง : วิเคราะห์งานศึกษาเกี่ยวกับชาวจีนโพ้นทะเลและภูมิภาคศึกษาของอเมริกาในยุคสงครามเย็น”. / โดย ปิยดา ชลวร.  ว.รัฐศาสตร์สาร. ม.ธรรมศาสตร์.ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2555) : 89-132.
  • “บทความวิจัย : การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อแก้ปัญหาของประเทศ”.  / โดย วรรณภา ติระสังขะ. ว.รัฐศาสตร์สาร.  ม.ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2555) : 213-236.
  • “เพชรสีเลือด : ปัญหาสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไต้หวันกับไลบีเรียช่วง ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 2003”./ โดย สิทธิพล เครือรัฐติกาล และวรศักดิ์ มหัทธโนบล.  ว.รัฐศาสตร์สาร. ม.ธรรมศาสตร์.  : ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2555) : 51-81.
  • “ภาพลักษณ์จีนในสายตาประเทศเพื่อนบ้าน : ผู้ครองความเป็นเจ้าที่การุณย์แต่ไม่ละทิ้งท่าที่แข็งกร้าว บทสำรวจการนำเสนอข่าวสารและภาพลักษณ์จีนในสายตาสื่อหนังสือพิมพ์เพื่อนบ้าน ศึกษาผ่านสื่อหนังสือพิมพ์ออนไลน์ในกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม”./ โดย วรารัก เฉลิมพันธุ์ศักดิ์.  ว.รัฐศาสตร์สาร.  ม.ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2555) : 1-81.

วิชาการศาลปกครอง

  • “การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครอง : จากประสบการณ์ของฝรั่งเศส เยอรมนี และออสเตรเลียสู่ศาลปกครองไทย”. / โดย นาตาชา วศินดิลก. ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2555) : 1-58.
  • “คดีพิพาทเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล”.  / โดย ปรานี สุขศรี.  ว.วิชาการศาลปกครอง.  ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2555) : 88-91.
  • “คดีพิพาทประเภทที่อาจไกล่เกลี่ยได้ในศาลปกครอง ช่วงเวลาที่ศาลจะอนุญาตให้ไกล่เกลี่ยได้ และผลจากการไกล่เกลี่ย : ประสบการณ์ของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี”./ โดย วรารัตน์ ไคขุนทด.  ว.วิชาการศาลปกครอง. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2555) : 59-87.

ศาลรัฐธรรมนูญ

  • “การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ประกาศใช้บังคับแล้วโดยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญในประเทศฝรั่งเศส”. / โดย ปฐมพงษ์ คำเขียว. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ. ปีที่ 14 ฉบับที่ 40 (มกราคม-เมษายน 2555) : 84 – 111.
  • “การร้องทุกข์ทางรัฐธรรมนูญของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐเช็ก สาธารณรัฐโปแลนด์สาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณรัฐโครเอเชีย”. / โดย ภาสพงษ์  เรณุมาศ. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ.ปีที่ 14 ฉบับที่ 40 (มกราคม – เมษายน 2555) : 1-18.
  • “สหรัฐอเมริกา : เสรีภาพทางศาสนาบนทางแพร่ง ตอน การสวดมนต์ (Prayer) ส่วนที่ 2 คำพิพากษาศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับการสวดมนต์ที่สำคัญ”./ โดย วรรณา  สุพรรณธะริดา. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ.  ปีที่ 14 ฉบับที่ 40 (มกราคม-เมษายน 2555) : 19-83.

เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์

  • “การใช้และการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในประเทศไทย (Internet Usage in Thailand)”.  / โดยนันทวุฒิ พิพัฒน์ เสรีธรรม.ว.เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2555) : 1-55.
  • “ธนาคารกับการแข่งขัน (Bank’s Competition)”.  / โดย ชวินทร์ ลีนะบรรจง. ว.เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 3  (กันยายน 2555) : 102-128.
  • “นโยบายการเงินแบบการกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อภายใต้การเรียนรู้แบบปรับตัว : กรณีศึกษาประเทศไทย”.  / โดย พิสุทธิ์ กุลธนวิทย์.  ว.เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์.  ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2555) : 59-93

สารคดี

  • “ตรวจสุขภาพมาบตาพุดผ่านไลเคน”.  / โดย ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล.  ว.สารคดี. ปีที่ 28 ฉบับที่ 334(ธันวาคม 2555) : 62-66.
  • “ติดเกาะตามเสด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพไปลี้ภัยการเมืองที่ปีนัง”./ โดย ศรัณย์ ทองปาน.ว.สารคดี.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 334 (ธันวาคม 2555) : 76-99.
  • บรรษัท/เปอร์โตริโก/แฟรกกิง/กัญชา/จีเอ็มโอในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯครั้งล่าสุด”./ โดย ภัควดี วีระภาสพงษ์.  ว.สารคดี.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 334 (ธันวาคม 2555) : 162-163.

SMEs Plus

  • “กรณีศึกษา “ชาไทยดอยธรรม” การต่อยอดธุรกิจ จากรุ่นสู่รุ่น”. / โดย พัลลภา ปิติสันต์.  ว.SMEs Plus.ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 29-32.
  • “K SME Care... ย่างก้าวสู่ปีที่ 7 ด้วยความมั่นคง”./ โดย วราธัช ตันติวรวงศ์. ว.SMEs Plus. ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 24-25.
  • “เจาะเทรนด์การค้าออนไลน์ไทย ปี 2013 (Thailand E-Commerce Trend 2013”./ โดย ภาวุธพงษ์ วิทยภานุ.  ว.SMEs Plus. ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 84-87.
  • “เตรียมโตรับความท้าทาย”. / โดย วิษณุ โชลิตกุล.  ว.SMEs Plus. ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 33-35.
  • “เทรนด์บรรจุภัณฑ์ ปี 2013”. / โดย สมชนะ กังวารจิตต์.  ว.SMEs Plus.ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 62-64.
  • “ปีที่ 51 สามพราน ริเวอร์โซด์ ในมือรุ่นที่ 3 ที่โจทย์เทรนด์โลกชูวิถีไทย ขายชุมชนสีเขียว”. ว.SMEs Plus. ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 38-44.
  • “หลักการใช้ Sensory Marketing”.  ว.SMEs Plus. ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 68-75.
  • “5 สินค้ายอดฮิต บน eBay ที่มีคนซื้อสูงสุดในปี 2012”. / โดย รัตนชัย ฐาปนะพงศ์.  ว.SMEs Plus.ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 88-89.
  • “อะไรอยู่เบื้องหลัง ... ความสำเร็จของ Sensory Marketing”.  ว.SMEs Plus.ปีที่ 3 ฉบับที่ 36 (มกราคม 2556) : 66-67.