สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับที่ 9 : กันยายน 2550

ผู้แต่ง :
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ. กลุ่มงานห้องสมุด
ปีที่เผยแพร่ :
2550
เดือน :
09
จำนวนหน้า :
56

 

สาระสังเขปบทความวารสารในเล่มนี้ ประกอบด้วย

วารสารกฎหมายปกครอง

  • “การตรวจสอบความจำเป็นในการตรากฎหมาย”.  / โดย ฝ่ายพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.  ว.กฎหมายปกครอง.  เล่ม 24 ตอน 3 : 131-134.
  • “การปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย”.  / โดย ธรรมนิตย์ สุมันตกุล.  ว.กฎหมายปกครอง.  เล่ม 24  ตอน 3 : 70-96.
  • “การพัฒนากฎหมาย”.  / โดย ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์.  ว.กฎหมายปกครอง. เล่ม 24 ตอน 3 : 3-34.
  • “คุณภาพของกฎหมาย : สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขในประเทศฝรั่งเศส”.  / โดย ศุภวัฒน์สิงห์ สุวงษ์.  ว.กฎหมายปกครอง.  เล่ม 24 ตอน 3 : 35-69.
  • “คู่มือการควบคุมคุณภาพของกฎ : กรณีศึกษาคู่มือการออกกฎของประเทศออสเตรเลีย (A Guide to Regulation)”.  / โดย ธรรมนิตย์ สุมันตกุล. ว.กฎหมายปกครอง.  เล่ม 24 ตอน 3: 97-130.  

วารสารกฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช

  • “การโต้แย้งคำสั่งอายัดเงินฝากของบุตรผู้ค้างชำระภาษีสามารถกระทำได้หรือไม่ และอยู่ในเขตอำนาจของศาลใดที่จะพิจารณา”.  / โดย สมพงษ์ ตันติรจนาวงศ์.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 87-93.
  • “ข้อเสนอความรับผิดของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตในไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายของสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป”.  / โดย สราวุธ ปิติยาศักดิ์. ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 22-33.
  • “ความเป็นชาติรัฐ และอำนาจอธิปไตยกับระบบเศรษฐกิจเสรีที่ไร้พรมแดน”.  / โดย ลาวัลย์ ถนัดศิลปกุล.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 9-21.
  • “คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6503/2545 ซื้อขายที่ดินมี น.ส. 3 โดยไม่ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่”.  / โดย วิกรณ์ รักษ์ปวงชน.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 117-120.
  • “วีดีโอเกม คอมพิวเตอร์เกมและอินเตอร์เน็ตเกม : ประเด็นร้อนแห่งยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ”.  / โดย สราวุธ ปิติยาศักดิ์.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 34-46.
  • “ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับระบบสองตารางอัตราภาษีเพื่อส่งเสริมการกระจายรายได้ครั้งใหม่จากคนรวยไปสู่คนจน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในการทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจ”.  / โดย จิรศักดิ์ รอดจันทร์.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 74-86.
  • “ผู้ที่มีชื่อในทะเบียนเป็นบุตรของเจ้ามรดกจะฟ้องขอส่วนแบ่งที่ดินทรัพย์มรดกได้หรือไม่?”. / โดย เพชรา จารุสกุล.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 68-73.
  • “มหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร กระจายอำนาจทางพื้นที่ : กระจายอำนาจทางบริการ”. / โดย สุนทร มณีสวัสดิ์.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 2-8.
  • “หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาทกับข้อสังเกตที่น่าสนใจ”.  / โดย วรวุฒิ เทพทอง.  ว.กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 94-99.

วารสารกฎหมายใหม่

  • “กฎหมายใหม่กับการคุ้มครองผู้เสียหายในความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา”.  / โดย สราวุธ เบญจกุล.  ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 86 (สิงหาคม 2550) : 36-39.
  • “กฎหมายมีผลย้อนหลังเพื่อเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งหรือไม่”.  / โดย วัส ตังสมิตร. ว.กฎหมายใหม่. ปีที่ 5 ฉบับที่ 86 (สิงหาคม 2550) : 42-45.
  • “ข้อโต้แย้งของ ปรีดี พนมยงค์ ต่อระบบเลือกตั้งแบบแข่งม้า”.  / โดย สมชาย ปรีชาศิลปกุล. ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 86 (สิงหาคม 2550) : 56-57.
  • “พ.ร.บ. ความมั่นคงของรัฐ “รัฐประหาร” ซ่อนรูป”.  / โดย กองบรรณาธิการ. ว.กฎหมายใหม่. ปีที่ 5 ฉบับที่ 86 (สิงหาคม 2550) : 40-41.
  • “ภาษีแจกทองให้พนักงาน”.  / โดย เพิ่มบุญ แก้วเขียว.  ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 83 (พฤษภาคม 2550) : 34-35.
  • “ยกฐานะเทศบาล”.  / โดย พิสิษฐ์ พลรักษ์เขตต์.  ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 86 (สิงหาคม 2550) : 54-55.
  • “สรุปร่างรัฐธรรมนูญใหม่”.  / โดย บทบรรณาธิการ.  ว.กฎหมายใหม่.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 83 (พฤษภาคม 2550) : 4-18.
  • “ค่าเงินบาทจะอยู่ที่เท่าไร กองทุนส่วนบุคคล 1.1 แสนล้าน รับมือเศรษฐีไทยลงทุกนอก”. ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 304 (สิงหาคม 2550) : 182.
  • “ชำระเงินไฮเทคร้อนแรง Safe Net ส่ง HSM ป้อนแบงก์”.  ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 304 (สิงหาคม 2550) : 99.
  • “ถึงเวลาธนาคารพาณิชย์ไทยจะต้องสร้างธุรกิจเพื่อสังคม”.  / โดย สันติ วิริยะรังสฤษฏ์. ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 304 (สิงหาคม 2550) : 36.
  • “4 กับดัก วิกฤติเชิงซ้อนฉุดกระบวนการสร้างความมั่งคั่ง”.  / โดย สุวิทย์ เมษินทรีย์. ว.การเงินธนาคาร.  ฉบับที่ 304 (สิงหาคม 2550) : 28.

วารสารข้าราชการ

  • “การต่อต้านการทุจริตในวงราชการ : เปรียบเทียบประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี”.  /โดย อรดี พันธุมโกมล.  ว.ข้าราชการ.  ปีที่ 52 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2550) : 20.
  • “การบริหารทรัพยากรมนุษย์ : ความเป็นจริง และความเป็นมืออาชีพ”.  / โดย มาฆะ ภู่จินดา. ว.ข้าราชการ.  ปีที่ 52 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2550) : 40.
  • “ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม”.  / โดย ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สำนักงาน ก.พ.  ว.ข้าราชการ.  ปีที่ 52 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2550): 46.
  • “ความเชื่อถือไว้วางใจในภาครัฐ (Public Trust) ตอนที่ 2”.  / โดย อังคณาอัศวสกุลไกร. ว.ข้าราชการ.  ปีที่ 52 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2550) : 53.
  • “มาตรฐานความประพฤติและจริยธรรมของนักการเมืองบทเรียนจากต่างประเทศ”.  / โดยสุรพงษ์ มาลี.  ว.ข้าราชการ.  ปีที่ 52 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2550) : 13.

วารสารจุฬาลงกรณ์รีวิว

  • “นโยบายการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยกับความท้าทายในอนาคต”. / โดย ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์.  และ ปิยมาศ เขจรนันทน์.  ว.จุฬาลงกรณ์รีวิว.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 75 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 39.
  • “Roadmapping : A New Management Tool for Technology-drivenOrganizations”. / โดย ณัฐ สิทธิ์ เกิดศรี.  ว.จุฬาลงกรณ์รีวิว.  ปีที่ 19 ฉบับที่ 75 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 24.

วารสารดอกเบี้ย

  • “จากพระยาพหลพลพยุหเสนาถึงนายกฯ ทักษิณกงล้อประวัติศาสตร์ผู้นำไทย ‘ลี้ภัยการเมือง’ คำตอบสุดท้าย”. ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 26 ฉบับที่ 313 (กรกฎาคม 2550) : 78.
  • “Sub-Prime Loan : ระเบิดเวลา!!! วิกฤติการเงินลูกใหม่”.  / โดย สมคิด บุญล้นเหลือ. ว.ดอกเบี้ย ปีที่ 26 ฉบับที่ 314 (สิงหาคม 2550) : 42.
  • “ฝรั่งยังชูนิ้ว ... เที่ยวไทยบาทแข็งไม่กระเทือน”.  / โดย รัตนะ คงใหญ่.  ว.ดอกเบี้ย. ปีที่ 26 ฉบับที่ 314 (สิงหาคม 2550) : 65.
  • “มุมมองและผลกระทบของ Suprime Loan”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 26 ฉบับที่ 314 (สิงหาคม 2550) : 55.
  • “ยึดทรัพย์” สูตรสำเร็จของนักปฏิวัติไทย”.  / โดย สุทัศน์ นพรัตน์.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 26 ฉบับที่ 313 (กรกฎาคม 2550) : 69.
  • “เวียดนามแดนสวรรค์นักลงทุน!!!”.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 26 ฉบับที่ 314 (สิงหาคม 2550) :38.
  • “สัญญานอันตราย!! เศรษฐกิจปีหมู 2550 ซ้ำรอยวิกฤติ 2540”.  / โดย ยี่แพร.  ว.ดอกเบี้ย. ปีที่ 26 ฉบับที่ 313 (กรกฎาคม 2550) : 58.
  • “10 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง ไทยธนาคารซากเศรษฐกิจที่ยังบูรณะไม่จบสิ้น”.  / โดย สมชาย ปิงตะคุ. ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 26 ฉบับที่ 313 (กรกฎาคม 2550) : 34.
  • “ฮ่องกง 10 ปี ในอุ้งมือปักกิ่ง บทพิสูจน์ 1 ประเทศ 2 ระบบ”.  / โดย แสงอุทัย เค้าภูไทย.  ว.ดอกเบี้ย.  ปีที่ 26 ฉบับที่ 313 (กรกฎาคม 2550) : 22.

วารสารเทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่

  • “ทั่วโลกเข้มฟู้ดเซฟตี้อาหารต้องปลอดภัย”.  ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 84 (สิงหาคม 2550) : 64.
  • “โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา  บ้านพลังงานลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า”.  / โดย ชลาลัย. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 84 (สิงหาคม 2550) : 75.
  • “Thaiodiesel 300… ประติมากรรมเพื่อการผลิตไบโอดีเซลจากสบู่ดำ”.  / โดย พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 84 (สิงหาคม 2550) : 78.
  • “ผึ้งกับความอัศจรรย์และการแปรรูปเพิ่มมูลค่า ณ ฟาร์มเลี้ยงผึ้งของ สะอาด ศรีพันธุ์”.  / โดย  ดาหลา.  ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 84 (สิงหาคม 2550) : 87.
  • “เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงชีวิต”.  / โดย สำนักงานคณะกรรมการผลิตเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ.  ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่.  ปีที่ 7 ฉบับที่ 84 (สิงหาคม 2550) : 103.

วารสารธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ

  • “การจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรม ในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 3)”.  / โดย กองบรรณาธิการ.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 56 (สิงหาคม 2550) : 84-88.
  • “ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่มีผลกระทบต่อการทำงานของพนักงานในองค์กร”.  / โดย กองบรรณาธิการ.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 56 (สิงหาคม 2550) : 6-17.
  • “ประกันสังคม... ทุกปัญหาล้วนมีคำตอบ”.  / โดย ปรานี สุขศรี.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 56  (สิงหาคม 2550) : 34-42.
  • “ลูกน้องตัวดี”.  / โดย น้องแบม.  ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 56 (สิงหาคม 2550) : 93-99.
  • “10 คำถาม เกี่ยวกับสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า”.  / โดย พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ.  ปีที่ 5 ฉบับที่ 56 (สิงหาคม 2550) : 27-33.

วารสารผู้จัดการ

  • “ประตู (อินโด) จีนเปิดแล้ว!!!”.  / โดย ปัณฑพ ตั้งศรีวงศ์ และ เอกรัตน์ บรรเลง. ว.ผู้จัดการ.  ปีที่ 25 ฉบับที่ 287 (สิงหาคม 2550) : 106.
  • “Eco-car เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมจริงหรือ?”.  / โดย พัชรพิมพ์ เสถบุตร. ว.ผู้จัดการ. ปีที่ 25 ฉบับที่ 287 (สิงหาคม 2550) : 205.
  • “โอกาสของธุรกิจไทยในแนวเส้นทางหมายเลข 9”.  / โดย ปัณฑพ ตั้งศีวงศ์ และ ดาวินจอมแปง. ว.ผู้จัดการ.  ปีที่ 25 ฉบับที่ 287 (สิงหาคม 2550) : 142.

วารสารโลกสีเขียว

  • “กฎหมายป่าชุมชน : เลิกพูดภาษาผีเสียที”.  / โดย จิรดา กุลประเสริฐ.  ว.โลกสีเขียว. ปีที่ 16 ฉบับที่ 93 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 33.
  • “คดีคลองด่าน” ในกำมือกรมควบคุมมลพิษ สะสางทุจริตหรือสะสมทุจริต”.  / โดย ปานรักษ์ วัฒกะวงศ์.  ว.โลกสีเขียว. ปีที่ 16 ฉบับที่ 93 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 52.
  • “บทเรียนจากบราซิล : 30 ปีแห่งความพยายามในการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพ”.  / โดย เดชรัต สุขกำเนิด.  ว.โลกสีเขียว.  ปีที่ 16 ฉบับที่ 93 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 55.
  • “วิพากษ์ พ.ร.บ. ส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ป่าฉบับใหม่”.  / โดย เพชร มโนปวิตร. ว.โลกสีเขียว. ปีที่ 16 ฉบับที่ 93 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 30.
  • “หยุดโลกร้อนด้วยพลังชุมชน”.  / โดย ฐิตินันท์ ศรีสถิต และ อวยพร แต้ชูตระกูล. ว.โลกสีเขียว. ปีที่ 16 ฉบับที่ 93 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2550) : 20.

วารสารผู้ส่งออก

  • “การบริหารความเสี่ยง”.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 20 ฉบับที่ 480 (ปักษ์แรก สิงหาคม 2550) :97.
  • “การบริหารความเสี่ยง (ตอนจบ)”.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 481 (ปักษ์หลัง สิงหาคม2550) : 100.
  • “ข้าวเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนี”.  / โดย สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณนครแฟรงก์เฟิร์ต. ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 481 (ปักษ์หลัง สิงหาคม 2550) : 83.
  • “เขตปกครองพิเศษเมืองฮ่องกงประตูการค้าสู่จีนแผ่นดินใหญ่”.  / โดย สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองฮ่องกง.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 20 ฉบับที่ 480 (ปักษ์แรก สิงหาคม2550) : 59.
  • “จับตา 7 นโยบายสำคัญกระทรวงพาณิชย์ไทยขึ้นแท่น ชาติการค้า Trading Nation”.  / โดย กุลวัฒน์ บัวสวัสดิ์.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 21 ฉบับที่ 481 (ปักษ์หลัง สิงหาคม 2550) : 47.
  • “EMS การจัดการสิ่งแวดล้อมในองค์กรตามระบบมาตรฐาน ISO 14001”.  / โดย กุลวัฒน์ บัวสวัสดิ์.  ว.ผู้ส่งออก.  ปีที่ 20 ฉบับที่ 480 (ปักษ์แรก สิงหาคม 2550) : 25.

วารสารศิลปวัฒนธรรม

  • “กบฏพระยาสรรค์กับ ‘เมษาฮาวาย’”.  / โดย สุชาติ เผือกสกนธ์.  ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 10 (สิงหาคม 2550) : 68.
  • “การเมืองเบื้องหลังพระราชกุศโลบายในรัชกาลที่ 5 “อันที่จริงก็ไม่ใช่เที่ยวอย่างเดียวเปนราชการอยู่บ้าง” เมื่อเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2” .  / โดย ไกรฤกษ์ นานา.  ว.ศิลปวัฒนธรรม.ปีที่ 28 ฉบับที่ 10 (สิงหาคม 2550) : 79.
  • “จุดอ่อนของคนไทย ในสายตาต่างชาติ (10) สรุปทัศนะของฝรั่ง 5 ชาติ 8 นาย”.  / โดย จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา.  ว.ศิลปวัฒนธรรม.  ปีที่ 28 ฉบับที่ 10 (สิงหาคม 2550) : 42.

วารสารสารคดี

  • “คลิตี้” กับ “ความตาย” ที่ละลายในสายน้ำ”. / โดย สุเจน กรรพฤทธิ์.  ว.สารคดี.  ปีที่ 23 ฉบับที่  269 (กรกฎาคม 2550) : 32.
  • “พิพิธภัณฑสถาน ดู เก บรองลี : กว่าจะเป็นพื้นที่เพื่อความเท่าเทียมกันทางวัฒนธรรม”.  / โดย จิรศรี บุณยเกียรติ เดลีส.  ว.สารคดี.  ปีที่ 23 ฉบับที่ 269 (กรกฎาคม 2550) : 109.
  • “พูนศุข พนมยงค์ สตรีผู้ไม่ขอรับเกียรติยศใด ๆ ทั้งสิ้น”.  / โดย วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. ว.สารคดี.  ปีที่ 23 ฉบับที่ 269 (กรกฎาคม 2550) : 46.
  • “เมื่อข้าพเจ้าเข้าเฝ้าสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า”. / โดย พูนศุข พนมยงค์.  ว.สารคดี.  ปีที่ 23 ฉบับที่ 269 (กรกฎาคม 2550) : 85.

วารสารสื่อพลัง

  • “จริยธรรมของการพัฒนาและบริหารธุรกิจในโลกของทุนนิยม”. ว.สื่อพลัง.  ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 31.
  • “ชีวิตครูหลังยุคปฏิรูปการศึกษา”.  ว.สื่อพลัง.  ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2550) :11.

วารสารอีคอนนิวส์

  • “คนไทยมีความสุขน้อยลงไม่มั่นใจเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต”. ว.อีคอนนิวส์.  ปีที่ 17 ฉบับที่  483 (กรกฎาคม 2550) : 22.
  • “ทิศทางสหภาพยุโรป ภายใต้การนำของโปรตุเกส”.  / โดย คณะผู้แทนไทยประจำประชาคมยุโรป. ว.อีคอนนิวส์.  ปีที่ 17 ฉบับที่ 483 (กรกฎาคม 2550) : 36.
  • นโยบาย FTA ของสหรัฐฯ ในมือ “เดโมแครต”.  ว.อีคอนนิวส์.  ปีที่ 17 ฉบับที่ 483 (กรกฎาคม 2550) : 38.
  • ภาพลักษณ์แบงก์ชาติ ยุค “เกร็งค่าเงิน” เมื่ออดีตคนในตำหนิคนใน”.  ว.อีคอนนิวส์.  ปีที่ 17 ฉบับ ที่ 483 (กรกฎาคม 2550) : 14.
  • “รัฐปล่อย 6 มาตรการรับผลกระทบบาทแข็งเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทย”. ว.อีคอนนิวส์.  ปีที่ 17 ฉบับที่ 483 (กรกฎาคม 2550) : 27.

วารสาร Far Eastern Economic Review

  • “A perilous escape from Pyongyang”.  / by Bertil Lintner.  Far Eastern Economic Review. Vol.170 No.5 (June 2007) : 28-32.
  • “China’s last option : let the yuan soar”.  / by Michael Pettis.  Far Eastern Economic Review.  Vol.170 No.5 (June 2007) : 10-15.
  • “Hong Kong’s arrested development”.  / by Friedrich Wu.  Far Eastern Economic Review. Vol.170 No.5 (June 2007) : 24-27.

วารสาร Foreign Affairs

  • “A1 Qaeda strikes back”.  / by Bruce Riedel.  Foreign Affairs.  Vol.86No.3 (May/June 2007) : 24-40.
  • “Bush and the Generals”.  / by  Michael C. Desch.  Foreign Affairs.Vol.86 No.3 (May/June 2007) : 97-108.
  • “Containing Russia”.  / by Yuliya Tymoshenko.   Foreign Affairs.  Vol.86No.3 (May/June 2007) : 69-82.
  • “Healthy  old Europe”.  / by Nicholas Eberstadt and Hans Groth. Foreign Affairs.  Vol.86 No.3 (May/June 2007) : 55-68.
  • “Let women rule”.  / by Swanee Hunt.  Foreign Affairs.  Vol.86 No.3 (May/June 2007) : 109-120.

วารสาร Journal of Contemporary Asia

  • “Business association in China : two regional experiences”.  / byJianjun Zhang.  Journal of Contemporary Asia.  Vol.37 No.2 (May 2007) : 209-231.
  • “The Free Aceh Movement : Islam and democratisation”.  / by Damien Kingsbury. Journal of Contemporary Asia.  Vol.37 No.2 (May 2007) :166-189.
  • “The hegemonic work of automated election technology in the Philippines”.  / by Brendan Luyt.  Journal of Contemporary Asia.  Vol.37 No.2 (May 2007):139-165.
  • “The Korean economic crisis and working women”.  / by Haejin Kim and Paula B. Voos. Journal of Contemporary Asia.  Vol.37 No.2 (May 2007) :190-208.
  • “The transformation of Korean business groups after the Asian Crisis”. / by Soonkyoo Choe and Chinmay Pattnaik.  Journal of Contemporary Asia.  Vol.37 No.2 (May 2007) : 232-255.

วารสาร The Review of Politics

  • “Nietzsche’s Human, All Too Human and the problem of culture”.  / by Paul Franco. The Review of Politics.  Vol.37 No.2 (May 2007) : 215-243.
  • “Oakeshott’s politics for gentlemen”.  / by Steven J. Wulf.  The Review of Politics. Vol.37 No.2 (May 2007) : 244-272.
  • “Teaching the questions : Aristotle’s philosophical pedagogy in the Nicomachean Ethics and the Politics”.  / by Stephen Salkever.  The Review of Politics. Vol.37 No.2 (May 2007) : 192-214.
  • “The conceptual obstacles to political reform in Iran”.  / by Cyrus Masroori.  The Review of Politics.  Vol.37 No.2 (May 2007) : 171-191.