รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวทางของอาเซียน

ผู้แต่ง :
ปวริศร เลิศธรรมเทวี
วรรณวิภา พัวศิริ
วิภาวี รุ่งวณิชชา
จำนวนหน้า :
140
ปีที่เผยแพร่ :
2560
ประเภท :
งานวิจัยโดยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ให้ทุน/ผู้สนับสนุน :
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
 บทที่ 1 หลักการและเหตุผล
 
1.1 ที่มาและความสำคัญของการวิจัย
 
1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย
 
1.3 ขอบเขตการศึกษา
 
1.4 ระเบียบวิธีวิจัย
1.4.1 การวิจัยเอกสาร โดยเฉพาะการวิจัยกฎหมาย
1.4.2 การเก็บข้อมูลด้วยการจัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)
1.4.3 การรวบรวมข้อมูลทางสถิติ
1.4.3 การรวบรวมข้อมูลทางสถิติ
 
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
 
1.6 โครงสร้างรายงานวิจัย
 
บทที่ 2 ความร่วมมือของอาเซียนเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 
2.1 บทนำ
2.2 ลักษณะโดยทั่วไปของเขตเศรษฐกิจพิเศษ
2.2.1 ความแตกต่างระหว่าง "เขตเศรษฐกิจพิเศษ" กับ "ประชาคมเศรษฐกิจ"
 รูปภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ของเขตเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบต่าง ๆ
 2.2.2 ต้นแบบของการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 ตารางที่ 1 สรุปรูปแบบของเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 
2.3 กรอบกติการะหว่างประเทศที่มีความสัมพันธ์กับการจัดตั้งและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 2.3.1 กรอบกติกาที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย
 2.3.2 ตราสารระหว่างประเทศที่ไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย
 
2.4 กรอบกติกาของอาเซียนที่กำหนดนโยบายความร่วมมือด้านเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 2.4.1 การสนับสนุนการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ชัดเจน
 2.4.2 การกำหนดบทบาทและความรับผิดชอบของสถาบันภาครัฐ
 2.4.3 การแบ่งส่วนความรับผิดชอบ และสร้างความร่วมมือระหว่างสมาชิก
 2.4.4 การสร้างศักยภาพในการแข่งขัน
 2.4.5 การเพิ่มความร่วมมือเรื่อง SEZs ระหว่างสมาชิก
 ตารางที่ 2 สรุปภาพรวมยุทธศาสตร์ของตราสารอาเซียนที่กำหนดนโยบายความร่วมมือด้านเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 
2.5 บทส่งท้าย
 
บทที่ 3 ภาพรวมการพัฒนาและจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
3.1 บทนำ
 
3.2 ภาพรวมการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทย
 รูปภาพที่ 2 แผนจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015-ปัจจุบัน
 3.2.1 แผนการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015-ปัจจุบัน
 ตารางที่ 3 สรุปภาพรวมการใช้พื้นที่ในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 ตารางที่ 4 สรุปกลุ่มธุรกิจที่วางเป้าหมายในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 3.2.2 ความสอดคล้องของแผนการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทยกับยุทธศาสตร์อาเซียน
 
3.3 กฎหมาย กฎระเบียบ และนโยบายภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
 3.3.1 ประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 3.3.2 ระบบกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน
 3.3.3 นโยบายและมาตรการส่งเสริมของภาครัฐ
 ตารางที่ 5 การจัดหาที่ดินและการบริหารจัดการที่ดินเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (1)
 ตารางที่ 6 การจัดหาที่ดินและการบริหารจัดการที่ดินเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (2)
 ตารางที่ 7 แสดงความพร้อมของเขตเศรษฐกิจพิเศษรายพื้นที่ในประเทศไทย
 
3.4 องค์กรกำกับดูแล
 
3.5 บทสรุป
 
บทที่ 4 ประโยชน์และผลกระทบต่อประเทศไทย
 
4.1 บทนำ
 4.2 การวิเคราะห์ประโยชน์และผลกระทบทางเศรษฐกิจ
 4.2.1 การรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
 4.2.2 ประโยชน์และผลกระทบต่อภาคเอกชน
 4.2.3 การสร้างระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาในระยะยาวของประเทศ
 
4.3 การวิเคราะห์ประโยชน์และผลกระทบด้านการเมืองและความมั่นคง
 4.3.1 การออกคำสั่งของเจ้าพนักงาน
 4.3.2 การระงับข้อพิพาทและการใช้อำนาจตุลาการ
 4.3.3 การจัดระบบฐานข้อมูล
 4.3.4 บทบาทขององค์กรลำดับรอง
 4.3.5 บทบาทการเป็นผู้นำในอาเซียนของไทย

4.4 การวิเคราะห์ประโยชน์และผลกระทบด้านสังคม
4.4.1 ปัญหาอาชญากรรม
4.4.2 ปัญหาสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
4.4.3 ประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชน และธรรมาภิบาล
4.4.4 สถาบันครอบครัว
 
4.5 บทสรุป
 
บทที่ 5 แนวทางการพัฒนานโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 
5.1 บทนำ
 5.2 ข้อพิจารณาสำหรบการพัฒนาแนวนโยบายและมาตรการทางกฎหมาย
 5.2.1 องค์ประกอบและสาระสำคัญของ "แนวนโยบายและมาตรการทางกฎหมายที่ดีและเหมาะสม"
 5.2.2 กลไกและสถาบันภายใต้แนวนโยบายและกฎหมาย
 
5.3 แนวนโยบาย ระเบียบกฎเกณฑ์ และมาตรการทางกฎหมาย
 5.3.1 การบังคับแผนการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษตามประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติ
 5.3.2 การจัดทำกฎหมายแม่บทบังคับต่อประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 5.3.2 การจัดทำกฎหมายแม่บทบังคับต่อประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 
บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
 
6.1 บทสรุป
 6.1.1 เอกสารกฎหมายระหว่างประเทศและกรอบกติกาของอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 6.1.2 ประเด็นความสอดคล้องของระบบกฎหมายไทยกับกรอบกติกาอาเซียนที่เกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 6.1.3 ประโยชน์และผลกระทบของการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษสำหรับประเทศไทย
 
6.2 ข้อเสนอแนะ
 6.2.1 ประเด็นการอนุวัติกฎหมายตามกรอบกติกาของอาเซียน และการจัดทำกฎหมายแม่บทว่าด้วยเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 6.2.2 ประเด็นเรื่ององค์กรกำหนดนโยบาย
 6.2.3 การจัดทำแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 6.2.4 การวางโครงสร้างขั้นพื้นฐานที่เกี่ยวกับการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 6.2.5 การกำกับดูแล (Monitoring) โดยรัฐสภา