อินโฟกราฟิก เรื่อง รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาระบบบริการสารสนเทศอาคารรัฐสภาแห่งใหม่และพัฒนาการดำเนินงานของสภาผู้แทนราษฎร

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาระบบบริการสารสนเทศอาคารรัฐสภาแห่งใหม่และพัฒนาการดำเนินงานของสภาผู้แทนราษฎร
ผู้แต่ง :
นราภัทร เพชรมณี
จำนวนหน้า :
1
ปีที่พิมพ์ :
2563

Smart and Open Parliament และ "รัฐสภาดิจิทัล" (Digital Parliament)📌📌
อาคารรัฐสภาแห่งใหม่ที่ใคร ๆ รู้จักกันในชื่อ "สัปปายะสภาสถาน" ซึ่งใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงานของรัฐสภาซึ่งเป็นสถาบันหลักของฝ่ายนิติบัญญัติและเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญของประเทศ การบริหารจัดการอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ด้วยระบบสารสนเทศ ตามทิศทางการขับเคลื่อนรัฐสภาเพื่อมุ่งไปสู่การเป็น Smart and Open Parliament และ "รัฐสภาดิจิทัล" (Digital Parliament) คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎรได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการพัฒนาระบบบริการสารสนเทศอาคารรัฐสภาแห่งใหม่และพัฒนาการดำเนินงานของสภาผู้แทนราษฎร ดำเนินการพิจารณาศึกษา

- บทสรุปผู้บริหาร
- 1. การดำเนินการ
- 2. วิธีการพิจารณาศึกษา
- 3. ผู้แทนหน่วยงานที่มาให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง
- 4. ผลการพิจารณา
- 5. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ
รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพัฒนาระบบบริการสารสนเทศอาคารรัฐสภาแห่งใหม่และพัฒนาการดำเนินงานของสภาผู้แทนราษฎร
- บทสรุปผู้บริหาร
- บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมา
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.3 ประเด็นการพิจารณาศึกษา
1.4 ระยะเวลาการพิจารณาศึกษา
1.5 วิธีการพิจารณาศึกษา
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
2.1 โครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่
2.2 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ พร้อมอาคารประกอบ
2.3 กฎหมาย และแผนที่เกี่ยวข้อง
2.4 แนวทางการดำเนินการของต่างประเทศ
บทที่ 3 ผลการพิจารณาศึกษา
3.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของอาคารรัฐสภาแห่งใหม่
3.1.1 ระบบการแสดงตนและการลงคะแนนด้วยระบบ Smart card
3.1.2 ระบบความปลอดภัยไซเบอร์ของรัฐสภา และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
3.1.3 ระบบ SMART/Green Building, ระบบป้ายข้อมูลดิจิทัล (Digital Signage) และระบบการรักษาความปลอดภัยของอาคารรัฐสภา
3.1.4 หอสมุดรัฐสภา พิพิธภัณฑ์ และจดหมายเหตุรัฐสภา
3.2 ระบบบริการสารสนเทศในวงงานรัฐสภา
3.2.1 ระบบบริหารจัดการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) และระบบบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-document)
3.2.2 เว็บไซต์รัฐสภา ช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน และการเปิดเผยข้อมูลของรัฐสภา
3.2.3 โซเชียลมีเดีย (Social Media) ของรัฐสภา

บทที่ 4 บทสรุป ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
4.1 บทสรุป
4.1.1 การมุ่งสู่ SMART and Open Parliament
4.1.2 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของอาคารรัฐสภาแห่งใหม่
4.1.3 ระบบบริการสารสนเทศในวงงานรัฐสภา

4.2 ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
4.2.1 เรื่องที่สามารถดำเนินการโดยไม่จำเป็นต้องใช้งบประมาณ
4.2.2 เรื่องที่ต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการ
4.2.3 เรื่องที่จำเป็นต้องกำหนดเป็นนโยบาย หรือแก้ไขระเบียบที่เกี่ยวข้อง

อ่านเพิ่มเติม

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาระบบบริการสารสนเทศอาคารรัฐสภาแห่งใหม่และพัฒนาการดำเนินงานของสภาผู้แทนราษฎร

ระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 12 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันพุธที่ 15 กรกฎาคม 2563
 

 

หมวดหมู่อินโฟกราฟิก :