รัฐธรรมนูญ

อินโฟกราฟิก เรื่อง นิรโทษกรรม การทำรัฐประหารในรัฐธรรมนูญชั่วคราว ปี 49 และ 57

รัฐประหาร / นิรโทษกรรม

“การนิรโทษกรรม” เป็นเครื่องมือในการลบล้างความผิด ขอเปรียบเทียบการนิรโทษกรรมแก่บรรดาคณะรัฐประหารที่ถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายระดับรัฐธรรมนูญ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 และ 2557

    1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549

อินโฟกราฟิก เรื่อง ระบบศาลในประเทศไทย

"ระบบศาลในประเทศไทย" เรียบเรียงโดยคณาธิป ไกยชน วิทยากรชำนาญการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเผยแพร่ในรายการ "ร้อยเรื่องเมืองไทย" ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภา

ปัจจุบันรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดให้มี 4 ศาล ได้แก่

  1. ศาลยุติธรรม
  2. ศาลปกครอง
  3. ศาลรัฐธรรมนูญ
  4. ศาลทหาร

อ่านเพิ่มเติม

ระบบศาลในประเทศไทย

อินโฟกราฟิก เรื่อง ที่มาของ 250 สว. ตามรัฐธรรมนูญ 2560

 

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย [พุทธศักราช 2560] บทเฉพาะกาล

มาตรา 269 ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนสองร้อยห้าสิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ โดยในการสรรหาและแต่งตั้งให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

อินโฟกราฟิก เรื่อง 4....สิ่ง ที่คณะรัฐมนตรีชุดเดิมหลังยุบสภาทำไม่ได้

 

4...สิ่ง ที่คณะรัฐมนตรีชุดเดิมหลังยุบสภา ทำไม่ได้ ประกอบด้วย

  1. อนุมัติงานหรือโครงการที่มีผลผูกพันต่อ ค.ร.ม. ชุดต่อไป
  2. แต่งตั้ง โยกย้าย/ปลด ข้าราชการ พนักงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่
  3. ใช้จ่ายงบประมาณสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
  4. ใช้บุคลากรของรัฐ เพื่อกระทำการใดอันอาจมีผลต่อการเลือกตั้ง

อ่านเพิ่มเติม : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย [พุทธศักราช 2560]

อินโฟกราฟิก เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495

 

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495​

ประวัติความเป็นมา​

  • ภายหลังคณะบริหารประเทศชั่วคราว นำโดยพลเอก ผิน ชุณหะวัณ ได้ทำรัฐประหาร เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 และประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 แล้วนำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม ปี 2482, 2483 มาใช้ไปพลางก่อน รวมถึงให้สภาผู้แทนราษฎรในขณะนั้น แก้ไขรัฐธรรมนูญ ปี 2475 เพื่อใช้เป็นฉบับถาวรต่อไป​

​สาระสำคัญ​

อินโฟกราฟิก เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492

 

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492

ประวัติความเป็นมา​

  • รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เป็นรัฐธรรมนูญที่ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นฉบับแรก ประกอบด้วยสมาชิก 40 คน ​

 ​สาระสำคัญ​

อินโฟกราฟิก เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

 

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489​

ประวัติความเป็นมา​

ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เริ่มจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้ร่วมกันเสนอญัตติแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยต่อสภาผู้แทนราษฎร โดยให้เหตุผลว่า ​

​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475 บังคับใช้มานานกว่า 14 ปีแล้ว เหตุการณ์บ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นอันมากสมควรจะให้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ของชาติ" ​

อินโฟกราฟิก เรื่อง รายงานประจำปี 2562 ศาลรัฐธรรมนูญ

รับทราบรายงานประจำปี 2562 ศาลรัฐธรรมนูญ
ไปดูรายงาน และการพิจารณาของส.ส. ในการประชุมวันนี้กันค่ะ
เล่มรายงานตาม link ด้านล่าง
https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/564783

ส่วนที่ 1 บทนำ
ส่วนที่ 2 ภาพรวมการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญและสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ส่วนที่ 4 การเข้าร่วมพระราชพิธี รัฐพิธีและกิจกรรมสำคัญของประเทศ
ส่วนที่ 5 รายงานของผู้สอบบัญชีและงบการเงินปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

อ่านเพิ่มเติม

 

Subscribe to รัฐธรรมนูญ